Show simple item record

Developing the Tele Village Health Volunteer (VHV) to Connect the Primary Care Pharmacy Service System

dc.contributor.authorสุณี เลิศสินอุดมth_TH
dc.contributor.authorSunee Lertsinudomth_TH
dc.contributor.authorเสาวลักษณ์ ตั้งตระกูลth_TH
dc.contributor.authorSaowalak Tangtrakulth_TH
dc.contributor.authorเดชาชัช สายเมธางกุรth_TH
dc.contributor.authorDechachuch Saimetanggunth_TH
dc.contributor.authorศิวพร ประเสริฐสุขth_TH
dc.contributor.authorSiwapond Prasertsukth_TH
dc.contributor.authorมีนา บุญพรหมมาth_TH
dc.contributor.authorMeena Bunprommath_TH
dc.contributor.authorเนตรชนก นารองth_TH
dc.contributor.authorNatchanok Narongth_TH
dc.contributor.authorหนึ่งฤทัย สุกใสth_TH
dc.contributor.authorNungruthai Sooksaith_TH
dc.date.accessioned2023-04-20T07:24:44Z
dc.date.available2023-04-20T07:24:44Z
dc.date.issued2566-03
dc.identifier.otherhs2966
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5865
dc.description.abstractบทนำ: การทำงานเภสัชกรรมปฐมภูมิในชุมชน เภสัชกรต้องทำงานร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เพราะ อสม. คือ บุคคลที่ใกล้ชิดกับชุมชนมาก ผลกระทบของโรคโควิด-19 เกิดกับหลายประเทศทั่วโลกและในหลายด้าน รวมถึงระบบสาธารณสุขเป็นอย่างมาก บุคคลากรทางการแพทย์จะต้องรับมือกับโรคระบาด และจำเป็นต้องมีการปรับรูปแบบการให้บริการ ดังนั้น เพื่อให้การทำงานเภสัชกรรมปฐมภูมิมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนา อสม. ทางไกล เพื่อเชื่อมต่อระบบบริการเภสัชกรรมปฐมภูมิ ให้สอดรับกับสถานการณ์ยุคปกติวิถีใหม่ วัตถุประสงค์ 1. พัฒนาแพลตฟอร์ม อสม. ทางไกล เพื่อให้ อสม. นำมาใช้ในงานบริการเภสัชกรรมปฐมภูมิในชุมชน 2. พัฒนา อสม. ให้มีความสามารถในการใช้แพลตฟอร์มทางไกลเพื่อเชื่อมต่อระบบบริการเภสัชกรรมปฐมภูมิ 3. ออกแบบระบบบริการเภสัชกรรมปฐมภูมิทางไกลเพื่อเชื่อมต่อการทำงานของเภสัชกรคลินิกหมอครอบครัว ร้านยา และ อสม. 4. สังเคราะห์ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายของงานเภสัชกรรมปฐมภูมิในยุคปัจจุบันต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research) โดยแบ่งเป็น 3 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 พัฒนาแพลตฟอร์ม อสม. ทางไกล (Tele Village Health Volunteer Platform (TeleVHV Platform)) เพื่อให้ อสม. นำมาใช้ในงานบริการเภสัชกรรมปฐมภูมิในชุมชน ระยะที่ 2 พัฒนา อสม. ให้มีความสามารถในการใช้แพลตฟอร์มทางไกลเพื่อเชื่อมต่อระบบบริการเภสัชกรรมปฐมภูมิ ออกแบบระบบบริการเภสัชกรรมปฐมภูมิทางไกลเพื่อเชื่อมต่อการทำงานของเภสัชกร และ อสม. ได้แก่ การคัดกรองความเสี่ยง บริการเลิกบุหรี่ การเยี่ยมบ้าน การจัดการปัญหาการกระจายยาที่ไม่เหมาะสมในชุมชน และนำร่องระบบบริการที่ออกแบบในพื้นที่เป้าหมาย ระยะที่ 3 การประเมินผลในด้านการเข้าถึงและการนำแพลตฟอร์มไปใช้ของเภสัชกร และ อสม. ด้านประสิทธิผลของการให้บริการในรูปแบบที่พัฒนาขึ้น ความพึงพอใจและข้อคิดเห็นต่อการใช้แพลตฟอร์ม อสม. ทางไกล ในงานบริการเภสัชกรรมปฐมภูมิและถอดบทเรียน สรุป: แพลตฟอร์ม อสม. ทางไกล สามารถทำให้เภสัชกร และ อสม. มีการทำงานเภสัชกรรมปฐมภูมิร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตาม ควรมีการฝึกฝนการใช้งานเพื่อให้ อสม. สามารถใช้ประโยชน์จากแพลตฟอร์มมากกว่านี้ และควรมีการผลักดันเชิงนโยบายต่อไป รวมถึงการขยายผลของงานวิจัยในการนำไปใช้ในงานบริการเภสัชกรรมปฐมภูมิ เพื่อให้เกิดความยั่งยืนและเป็นประโยชน์ในวงกว้างต่อไปth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectยาth_TH
dc.subjectDrugsth_TH
dc.subjectPharmacyth_TH
dc.subjectเภสัชกรรมth_TH
dc.subjectอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านth_TH
dc.subjectVillage Health Volunteersth_TH
dc.subjectบริการปฐมภูมิ (การแพทย์)th_TH
dc.subjectPrimary Care (Medicine)th_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectApplication Softwareth_TH
dc.subjectโปรแกรมประยุกต์th_TH
dc.subjectHealth Policyth_TH
dc.subjectนโยบายสาธารณสุขth_TH
dc.subjectการบริหารสาธารณสุขth_TH
dc.subjectPublic Health Administrationth_TH
dc.subjectCOVID-19 (Disease)th_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)th_TH
dc.subjectCoronavirusesth_TH
dc.subjectไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectCoronavirus Infectionsth_TH
dc.subjectการติดเชื้อไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies)th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ทางไกล เพื่อเชื่อมต่อระบบบริการเภสัชกรรมปฐมภูมิth_TH
dc.title.alternativeDeveloping the Tele Village Health Volunteer (VHV) to Connect the Primary Care Pharmacy Service Systemth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeIntroduction: Working in primary care pharmacy in the community Pharmacists have to work with village health volunteers (VHVs) because VHVs are people who are very close to the community. Impact of COVID-19 Happened to many countries around the world and in many ways, Including the public health system very much. Healthcare workers must deal with epidemics and service delivery needs to be adjusted. Therefore, it is necessary to develop long-distance village health volunteers (VHVs) to connect the primary care pharmaceutical service system. To be in line with the normal situation, the new normal. Objective: 1. Develop a platform for remote village health volunteers for village health volunteers to use in primary care pharmaceutical services in the community. 2. Develop village health volunteers to have the ability to use a remote platform to connect the primary care pharmaceutical service system. 3. Design a remote primary care pharmacy service system to connect the work of pharmacists and village health volunteers. 4. Synthesize current primary pharmaceutical policy recommendations to relevant agencies. The research model was a participatory action research divided into 3 phases as follows Phase 1: Develop a Tele Village Health Volunteer Platform (TeleVHV Platform) for village health volunteers to use in primary care pharmacy services in the community. Phase 2: Develop village health volunteers to have the ability to use remote platforms to connect primary care pharmaceutical service systems. Design a remote primary care pharmacy service system to connect the work of pharmacists and volunteers, including risk screening smoking cessation service home visit Addressing the problem of improper drug distribution in the community and pilot a service system designed in the target area. Phase 3: Evaluation in terms of access and use of the platform by pharmacists and village health volunteers, in terms of the effectiveness of services in the developed form. Satisfaction and opinions on the use of the remote village health volunteers platform in primary care pharmaceutical services. and take lessons. Conclusion: The tele village health volunteers platform can enable pharmacists and village health volunteers work together in primary care pharmaceuticals effectively. It should be practiced so that villagers can take advantage of the platform more and there should be further policy push Including the expansion of research results to be applied in primary care pharmaceutical services to achieve sustainability and benefit in a wider area.th_TH
dc.identifier.callnoQV737 ส819ก 2566
dc.identifier.contactno65-028
dc.subject.keywordTele Village Health Volunteer Platformth_TH
dc.subject.keywordTeleVHV Platformth_TH
dc.subject.keywordอสม.th_TH
dc.subject.keywordเภสัชกรรมทางไกลth_TH
dc.subject.keywordTelepharmacyth_TH
dc.subject.keywordระบบบริการเภสัชกรรมทางไกลth_TH
dc.subject.keywordTelepharmacy Serviceth_TH
dc.subject.keywordเภสัชกรรมปฐมภูมิth_TH
.custom.citationสุณี เลิศสินอุดม, Sunee Lertsinudom, เสาวลักษณ์ ตั้งตระกูล, Saowalak Tangtrakul, เดชาชัช สายเมธางกุร, Dechachuch Saimetanggun, ศิวพร ประเสริฐสุข, Siwapond Prasertsuk, มีนา บุญพรหมมา, Meena Bunpromma, เนตรชนก นารอง, Natchanok Narong, หนึ่งฤทัย สุกใส and Nungruthai Sooksai. "การพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ทางไกล เพื่อเชื่อมต่อระบบบริการเภสัชกรรมปฐมภูมิ." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5865">http://hdl.handle.net/11228/5865</a>.
.custom.total_download235
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month6
.custom.downloaded_this_year25
.custom.downloaded_fiscal_year44

Fulltext
Icon
Name: hs2966.pdf
Size: 5.348Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record