dc.contributor.author | โชษิตา ภาวสุทธิไพศิฐ | th_TH |
dc.contributor.author | Chosita Pavasuthipaisit | th_TH |
dc.contributor.author | วิมลวรรณ ปัญญาว่อง | th_TH |
dc.contributor.author | Wimonwan Panyawong | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T07:03:21Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T07:03:21Z | |
dc.date.issued | 2566-04 | |
dc.identifier.other | hs2968 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5870 | |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ เพื่อทบทวนวรรณกรรมและบทเรียนของต่างประเทศในการจัดระบบบริการจิตเวชครบวงจรและประเมินความเป็นไปได้เบื้องต้นในการจัดระบบบริการจิตเวชครบวงจรในประเทศไทย ทบทวนโดยการสืบค้นข้อมูล เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับระบบบริการจิตเวชครบวงจร แผนนโยบายและแนวปฏิบัติในการจัดบริการจิตเวชครบวงจรของประเทศต่างๆ ช่วง 5 ปีย้อนหลัง ได้เอกสาร จำนวน 127 ฉบับ จากนั้นทบทวนและคัดเลือกตามวัตถุประสงค์เหลือเอกสาร จำนวน 29 ฉบับ ผลการศึกษาพบว่า ระบบบริการจิตเวชครบวงจรเป็นการทำงานร่วมกันระหว่าง ผู้กำหนดนโยบายและงบประมาณ หน่วยงานและบุคลากรสาธารณสุข ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางจิตเวช ร่วมกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องและผู้เกี่ยวข้องในชุมชน รวมถึงการมีส่วนร่วมของผู้รับบริการจิตเวชและญาติ การศึกษาครั้งนี้นำเสนอตัวอย่างแผนนโยบายและแนวทางการจัดระบบบริการจิตเวชครบวงจรของประเทศต่างๆ ที่ถือเป็นต้นแบบที่ได้รับการยอมรับ เช่น ออสเตรเลีย สหราชอาณาจักร แคนาดา ฯลฯ และระบบบริการจิตเวชในบริบทไทย ซึ่งยังพบอุปสรรคในการพัฒนา ทั้งในระดับนโยบายที่ควรมุ่งเน้นการเปลี่ยนผ่านไปตามแนวทางสิทธิมนุษยชนตามแนวทางสากล รวมถึงปัญหาด้านกำลังคนบุคลากรสุขภาพจิต/จิตเวช ความรู้ความเข้าใจด้านสุขภาพจิต/จิตเวชในบุคลากรสาธารณสุข การเชื่อมโยงระบบระหว่างหน่วยบริการจิตเวชในสังกัดต่างๆ และการถ่ายทอดนโยบายสู่การปฏิบัติ รวมถึงการมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละระดับ สรุป การพัฒนาระบบบริการจิตเวชครบวงจร เน้นการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิต/จิตเวช ร่วมไปกับการพัฒนาศักยภาพของชุมชน (รวมถึงโรงเรียนและที่ทำงาน) ในการดูแลและฟื้นฟูผู้มีปัญหาสุขภาพจิต/จิตเวชให้สามารถดำรงชีวิตประจำวันอย่างเต็มที่เท่าที่เป็นไปได้ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Psychiatric | th_TH |
dc.subject | จิตเวช | th_TH |
dc.subject | Psychiatry | th_TH |
dc.subject | จิตเวชศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | จิตเวชศาสตร์--การวินิจฉัยโรค | th_TH |
dc.subject | สุขภาพจิต | th_TH |
dc.subject | Mental Health | th_TH |
dc.subject | สุขภาพจิต, การบริการ | th_TH |
dc.subject | ระบบบริการสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | Health Service System | th_TH |
dc.subject | ระบบบริการสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Health Care System | th_TH |
dc.subject | การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) | th_TH |
dc.title | รายงานการทบทวนวรรณกรรม เรื่อง ระบบบริการจิตเวชครบวงจร | th_TH |
dc.title.alternative | Literature Review Report on Comprehensive Psychiatric Systems | th_TH |
dc.type | Technical Report | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Objective: To review the literatures and lessons learnt from foreign countries in implementing a comprehensive psychiatric service system, and preliminarily assessing the feasibility of comprehensive psychiatric service system in Thailand. Methods: Searching for literatures, policy documents, research related to the keyword “comprehensive psychiatric service system” for the provision of comprehensive psychiatric services in various countries over the past 5 years were 127 copies, then reviewed and selected based on objectives, leaving final to be reviewed 29 documents. Result: Comprehensive psychiatric service system is a collaboration between policy makers and budget health agencies, as well as personnel specialists in psychiatry, relevant network partners, people involved in community mental health, and including participation of psychiatric patients and relatives. This study presents examples of policy implementation and guidelines for organizing a comprehensive psychiatric service system in various countries, where considered as a recognized prototype such as Australia, United Kingdom, Canada, etc. The situation of psychiatric service system in the Thai context, which still encountered obstacles to development both at the national policy level that should focus on transition to human rights-based approach following the international guidelines, including manpower problems, mental health / psychiatric personnel knowledge and understanding of mental health/psychiatry among health personnel. The policy gap also found on linking systems between psychiatric service units in various affiliations and transferring policies into practice Including participation in policy formulation of stakeholders at each level. Summary: The development of comprehensive psychiatric service system emphasis on developing the potential of public health personnel and related agencies in caring for people with mental/psychiatric problems. Together with the development of the community's potential (including school and workplace) to care for and rehabilitate people with mental/psychiatric problems so that they can live life to the fullest possible. | th_TH |
dc.identifier.callno | WM141 ช824ร 2566 | |
dc.identifier.contactno | 66-088 | |
dc.subject.keyword | ระบบบริการจิตเวช | th_TH |
dc.subject.keyword | Psychiatric Systems | th_TH |
.custom.citation | โชษิตา ภาวสุทธิไพศิฐ, Chosita Pavasuthipaisit, วิมลวรรณ ปัญญาว่อง and Wimonwan Panyawong. "รายงานการทบทวนวรรณกรรม เรื่อง ระบบบริการจิตเวชครบวงจร." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5870">http://hdl.handle.net/11228/5870</a>. | |
.custom.total_download | 93 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 41 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 3 | |