Show simple item record

Field Hospital Administrative System in COVID-19 Situation: A Case Study of Budsarakhum Hospital

dc.contributor.authorอภิรดี นันท์ศุภวัฒน์th_TH
dc.contributor.authorApiradee Nantsupawatth_TH
dc.contributor.authorอรอนงค์ วิชัยคำth_TH
dc.contributor.authorOrn-Anong Wichaikhumth_TH
dc.contributor.authorกุลวดี อภิชาติบุตรth_TH
dc.contributor.authorKulwadee Abhicharttibutrath_TH
dc.contributor.authorฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์th_TH
dc.contributor.authorThitinut Akkadechanuntth_TH
dc.contributor.authorชญาภา แสนหลวงth_TH
dc.contributor.authorChayapha Sanluangth_TH
dc.contributor.authorเกศราภรณ์ อุดกันทาth_TH
dc.contributor.authorKedsaraporn Udkuntath_TH
dc.date.accessioned2023-06-29T07:00:44Z
dc.date.available2023-06-29T07:00:44Z
dc.date.issued2566-06
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 17,2 (เม.ย. - มิ.ย. 2566) : 342-363th_TH
dc.identifier.issn2672-9415
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5900
dc.description.abstractโรงพยาบาลบุษราคัมเป็นโรงพยาบาลสนามขนาดใหญ่เฉพาะด้านในการดูแลผู้ป่วยโควิด-19 การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายระบบบริหารจัดการ ปัญหา/อุปสรรค และกลยุทธ์ในการบริหารจัดการของโรงพยาบาลบุษราคัมและให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการพัฒนาระบบบริหารจัดการโรงพยาบาลสนาม งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ และการทบทวนเอกสาร กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเจาะจง ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสนามทั้งภาครัฐและเอกชน ผู้เชี่ยวชาญการแพทย์ฉุกเฉิน ผู้บริหารและบุคลากรทางการแพทย์ และผู้ป่วยที่มีประสบการณ์เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลสนามบุษราคัม เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยการจัดหมวดหมู่ของข้อมูลและเปรียบเทียบการบริหารจัดการกับสิ่งที่ได้จากการทบทวนวรรณกรรมและการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ ผลการศึกษาพบว่า: 1) ระบบบริหารจัดการโรงพยาบาลสนามบุษราคัม มีความสอดคล้องกับรูปแบบการบริหารจัดการโรงพยาบาลสนามจากการทบทวนวรรณกรรมและสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ ครอบคลุมทั้งปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลลัพธ์ อย่างไรก็ตามพบว่ายังไม่ชัดเจนในด้านการระดมพลในภาวะฉุกเฉิน การติดตามผลลัพธ์ทางสุขภาพให้ครอบคลุมในด้านต่างๆ 2) พบปัญหา อุปสรรค และกลยุทธ์ในการบริหารจัดการโรงพยาบาล ด้านต่างๆ คือ โครงสร้างโรงพยาบาล การสื่อสารนอกองค์กร การจัดการความเสี่ยง การควบคุมการติดเชื้อ ระบบเวชระเบียน การสรรหากำลังคน การจัดการความเครียดของบุคลากร การจัดการวัสดุ/อุปกรณ์ทางการแพทย์ การรับเข้ารับการรักษา การดูแลทางคลินิก ระบบส่งต่อผู้ป่วย และการติดตามผลลัพธ์ 3) ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการพัฒนาระบบบริหารจัดการโรงพยาบาลสนาม เป็นข้อมูลสำหรับภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน ในการเตรียมความพร้อมในการรับมือกับโรคระบาดและการพัฒนาระบบบริหารจัดการโรงพยาบาลสนามเมื่อเผชิญกับภาวะวิกฤติอื่น ดังเช่นโควิด-19 ต่อไปth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHospital Administrationth_TH
dc.subjectการบริหารโรงพยาบาลth_TH
dc.subjectCOVID-19 (Disease)th_TH
dc.subjectโควิด-19 (โรค)th_TH
dc.subjectCoronavirusesth_TH
dc.subjectไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectCoronavirus Infectionsth_TH
dc.subjectการติดเชื้อไวรัสโคโรนาth_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.titleระบบบริหารจัดการโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์โควิด-19: กรณีศึกษาโรงพยาบาลบุษราคัมth_TH
dc.title.alternativeField Hospital Administrative System in COVID-19 Situation: A Case Study of Budsarakhum Hospitalth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeBudsarakhum Hospital was a large field hospital specialized in providing temporary care for COVID-19 patients. The research objectives were to describe the current situation, problems, constraints, and administrative strategies of Budsarakhum Hospital and to develop policy recommendations for field hospital administrative systems. This is qualitative research and documentary review with a purposive sampling on directors of field hospitals from public and private sectors; emergency medical specialists; administrators and health care providers; including patients who were admitted to Budsarakhum Hospital. Data were collected from participants through in-depth interview and analyzed using the content analysis. Results: 1) From literature review and interviews with experts, administrative system of Budsarakhum Hospital was compliant to administrative model of field hospital for COVID-19, in the scope of input, process and output. However, the emergency human resource mobilization and outcome monitoring were unclear. 2) Problems, constraints, including hospital administrative strategies were identified on hospital structure, extra-organizational communications, risk management, infection control, personnel recruitment and stress management, medical record system, handling of medical materials/devices, admission process, clinical care, patient referral system, and outcome monitoring. 3) Policy recommendations on administrative system of field hospital focused on the information for the public, private, and people sectors to prepare themselves to deal with the epidemic particularly field hospital administrative system if facing future crises.th_TH
dc.subject.keywordโรงพยาบาลสนามth_TH
dc.subject.keywordField Hospitalth_TH
dc.subject.keywordโรงพยาบาลบุษราคัมth_TH
dc.subject.keywordBudsarakhum Hospitalth_TH
.custom.citationอภิรดี นันท์ศุภวัฒน์, Apiradee Nantsupawat, อรอนงค์ วิชัยคำ, Orn-Anong Wichaikhum, กุลวดี อภิชาติบุตร, Kulwadee Abhicharttibutra, ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์, Thitinut Akkadechanunt, ชญาภา แสนหลวง, Chayapha Sanluang, เกศราภรณ์ อุดกันทา and Kedsaraporn Udkunta. "ระบบบริหารจัดการโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์โควิด-19: กรณีศึกษาโรงพยาบาลบุษราคัม." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5900">http://hdl.handle.net/11228/5900</a>.
.custom.total_download618
.custom.downloaded_today3
.custom.downloaded_this_month30
.custom.downloaded_this_year346
.custom.downloaded_fiscal_year55

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v17n ...
Size: 1.061Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

Show simple item record