Proposal of House Dust Mite Sublingual Immunotherapy Compared with Subcutaneous Immunotherapy for Treating Allergic Rhinitis with and without Asthma in the COVID-19 Pandemic
dc.contributor.author | ประยุทธ ภูวรัตนาวิวิธ | th_TH |
dc.contributor.author | Prayuth Poowaruttanawiwit | th_TH |
dc.contributor.author | ชนิดา จันทร์ทิม | th_TH |
dc.contributor.author | Chanida Chantim | th_TH |
dc.contributor.author | ไกลตา ศรีสิงห์ | th_TH |
dc.contributor.author | Klaita Srisingh | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-29T07:02:45Z | |
dc.date.available | 2023-06-29T07:02:45Z | |
dc.date.issued | 2566-06 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 17,2 (เม.ย. - มิ.ย. 2566) : 372-384 | th_TH |
dc.identifier.issn | 2672-9415 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5901 | |
dc.description.abstract | การระบาดของโควิด-19 ส่งผลต่อระบบการรักษาพยาบาลและทำให้ผู้ป่วยเข้าถึงการรักษาได้ยากมากขึ้น ซึ่งในที่สุดแล้วจะส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและส่งผลกระทบต่อสังคมในภาพรวม บทความนี้ได้ชี้ให้เห็นถึงปัญหาและความสำคัญที่จะต้องมีการจัดการในเชิงนโยบาย และได้ทดลองวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์ทางสังคมที่คำนวณค่าออกมาเป็นตัวเงินของการรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้และโรคหืดที่เกิดร่วมกับโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ซึ่งมีสาเหตุมาจากไรฝุ่นในสถานการณ์ที่มีการระบาดของโควิด-19 การวิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่างสิ่งแทรกแซง คือ ยาชนิดอมใต้ลิ้น และ สิ่งควบคุม คือ ยาชนิดฉีดเข้าใต้ผิวหนัง พบว่า ยาภูมิคุ้มกันบำบัดชนิดอมใต้ลิ้นให้ผลตอบแทนคุ้มค่าการลงทุนหากพิจารณาในมุมมองของสังคม ภายใต้สถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ณ ปี พ.ศ. 2564 มากกว่า ยาภูมิคุ้มกันบำบัดชนิดฉีดเข้าใต้ผิวหนัง ค่า benefit to cost ratio คือ 1.72 และน่าจะน้อยกว่า 1.00 ตามลำดับ ซึ่งแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผู้กำหนดนโยบายสามารถนำข้อมูลนี้ไปประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดการรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้และโรคหืดที่เกิดร่วมกับโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ซึ่งมีสาเหตุมาจากไรฝุ่นด้วยภูมิคุ้มกันบำบัดแบบอมใต้ลิ้นเปรียบเทียบกับแบบฉีดเข้าใต้ผิวหนังในสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 อย่างคุ้มค่าต่อสังคมในภาพรวมต่อไป | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | ไรฝุ่น | th_TH |
dc.subject | จมูกอักเสบจากภูมิแพ้ | th_TH |
dc.subject | โรคหืด | th_TH |
dc.subject | ภูมิแพ้ | th_TH |
dc.subject | Allergy | th_TH |
dc.subject | ภูมิแพ้และภูมิคุ้มกัน | th_TH |
dc.subject | Allergy and Immunology | th_TH |
dc.subject | การรักษาด้วยยา | th_TH |
dc.subject | Allergens--Therapeutic Use | th_TH |
dc.subject | Allergy--Immunotherapy | th_TH |
dc.title | ข้อเสนอการใช้ภูมิคุ้มกันบำบัดไรฝุ่นชนิดอมใต้ลิ้นและชนิดฉีดเข้าใต้ผิวหนังในการรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้และโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ร่วมกับโรคหืดในสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 | th_TH |
dc.title.alternative | Proposal of House Dust Mite Sublingual Immunotherapy Compared with Subcutaneous Immunotherapy for Treating Allergic Rhinitis with and without Asthma in the COVID-19 Pandemic | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The COVID-19 outbreak greatly disrupted healthcare systems and made it more difficult for patients to access treatment, ultimately affecting the quality of life of patients and society. This paper highlighted the issues and importance of policy management and examined the financial cost and social benefits of treating allergic rhinitis and allergic asthma caused by house dust mites (HDM) amid an outbreak of COVID-19. A comparative analysis was executed between HDM sublingual immunotherapy (SLIT) as an intervention and subcutaneous immunotherapy (SCIT) as a comparator. It was found that HDM SLIT provided a better return on investment from the perspective of society during the COVID-19 pandemic in 2021 than HDM SCIT. The benefit to cost (B/C) ratio of the HDM SLIT to HDM SCIT was 1.72 and likely to be less than 1.00, respectively, which were statistically different. Policymakers could use these results to establish strategies for treating allergic rhinitis with and without asthma by choosing between HDM SLIT and SCIT, particularly during the pandemic. | th_TH |
dc.subject.keyword | Dust Mite | th_TH |
dc.subject.keyword | ภูมิคุ้มกันบำบัด | th_TH |
dc.subject.keyword | Allergen Immunotherapy | th_TH |
dc.subject.keyword | ยาอมใต้ลิ้น | th_TH |
dc.subject.keyword | ยาฉีดเข้าใต้ผิวหนัง | th_TH |
.custom.citation | ประยุทธ ภูวรัตนาวิวิธ, Prayuth Poowaruttanawiwit, ชนิดา จันทร์ทิม, Chanida Chantim, ไกลตา ศรีสิงห์ and Klaita Srisingh. "ข้อเสนอการใช้ภูมิคุ้มกันบำบัดไรฝุ่นชนิดอมใต้ลิ้นและชนิดฉีดเข้าใต้ผิวหนังในการรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้และโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ร่วมกับโรคหืดในสถานการณ์การระบาดของโควิด-19." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5901">http://hdl.handle.net/11228/5901</a>. | |
.custom.total_download | 462 | |
.custom.downloaded_today | 1 | |
.custom.downloaded_this_month | 19 | |
.custom.downloaded_this_year | 295 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 42 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ