Show simple item record

People’s Perspectives and Expectations on Devolution of Health Promoting Hospital to Local Administration Organization

dc.contributor.authorสสิธร เทพตระการพรth_TH
dc.contributor.authorSasitorn Taptagapornth_TH
dc.contributor.authorศุภางค์ วัฒนเสยth_TH
dc.contributor.authorSupang Wattanasoeith_TH
dc.contributor.authorจิรภัทร หลงกุลth_TH
dc.contributor.authorJirapat Longkulth_TH
dc.contributor.authorคัติยา อีวาโนวิชth_TH
dc.contributor.authorKatiya Ivanovitchth_TH
dc.contributor.authorสิริมา มงคลสัมฤทธิ์th_TH
dc.contributor.authorSirima Mongkolsomlitth_TH
dc.date.accessioned2023-09-26T02:31:27Z
dc.date.available2023-09-26T02:31:27Z
dc.date.issued2566-08
dc.identifier.otherhs3016
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5929
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษามุมมองและความคาดหวังของประชาชนต่อการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) สู่การบริหารจัดการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) และวัตถุประสงค์รองเพื่อวิเคราะห์ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข แนวทางการจัดการระบบฐานข้อมูลสุขภาพจากการถ่ายโอนฯ ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน โดยใช้กรอบแนวคิดการศึกษาทฤษฎีเชิงระบบร่วมกับกรอบแนวคิดของระบบสุขภาพ (Six Building Blocks) รูปแบบการศึกษาแบบผสมเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ (Mixed methods : Qualitative and Quantitative research design) พื้นที่ศึกษาในเขตสุขภาพที่ 4 และเขตสุขภาพที่ 1 เก็บข้อมูลจาก รพ.สต. ที่ถ่ายโอนแล้วและยังไม่ถ่ายโอน จากกลุ่มตัวอย่าง 3 กลุ่ม คือ 1) ผู้บริหารในพื้นที่ทั้งกระทรวงสาธารณสุข และ อปท. จำนวน 48 คน 2) บุคลากรจาก รพ.สต. ทั้งถ่ายโอนและยังไม่ถ่ายโอน จำนวน 104 คน และ 3) ประชาชนผู้รับบริการในพื้นที่ จำนวน 3,912 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ผลการศึกษาพบว่า ผู้รับบริการ รพ.สต. ทั้ง 46 แห่ง มีความคาดหวังต่อบริการของ รพ.สต. ที่ถ่ายโอนแล้ว (20 แห่ง) ไม่ต่างจาก รพ.สต. ที่ยังไม่ถ่ายโอน (26 แห่ง) คือ ต้องการให้แพทย์เยี่ยมบ้าน ติดตามดูแลคนไข้มากขึ้นจนหายปกติ มียาคุณภาพ รักษา ครบทุกโรค สามารถรับยาได้ที่ รพ.สต. ไม่ต้องไปโรงพยาบาล มีการตรวจทางห้องปฏิบัติการ มีความพร้อมเครื่องมือแพทย์ที่ทันสมัย มีครบและบุคลากรเพียงพอ ทั้งนี้ ความพึงพอใจของประชาชนต่อการได้รับบริการระหว่าง รพ.สต. ที่ถ่ายโอนสูงกว่ายังไม่ได้ถายโอนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P value < 0.05) ผลกระทบจากการถ่ายโอนฯ พบว่า องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นได้รับผลกระทบในด้านบุคลากรที่ไม่ถ่ายโอนไปด้วย ด้านงบประมาณที่ยังไม่ชัดเจนในการใช้และด้านที่ดินสิ่งปลูกสร้างที่ต้องดำเนินการกับหน่วยงานอื่นนอกจากกระทรวงสาธารณสุข รวมถึงแนวทางการจัดการระบบฐานข้อมูลสุขภาพจากการถ่ายโอน การส่งต่อ ยังไม่มีแนวทางที่ชัดเจน ปัญหาและอุปสรรคที่พบในการดำเนินงานจากการสื่อสารที่ไม่ชัดเจน ความไม่ไว้วางใจ และความไม่เชื่อใจ รวมถึงการเพิ่งเริ่มต้นหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านสาธารณสุขของ อปท. ทำให้การถ่ายโอนฯ มีอุปสรรคในการดำเนินการมาก ดังนั้น การสื่อสารเพื่อให้เกิดความชัดเจนรวดเร็วจากหน่วยงานของกระทรวงสาธารณสุข และ อปท. ซึ่งความเชื่อใจ ไว้วางใจ จะทำให้ รพ.สต. ที่ถ่ายโอนฯ สามารถตอบสนองความคาดหวังของประชาชนได้th_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลth_TH
dc.subjectบริการปฐมภูมิ (การแพทย์)th_TH
dc.subjectPrimary Care (Medicine)th_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectการจัดการด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth--Managementth_TH
dc.subjectนโยบายสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Policyth_TH
dc.subjectการบริหารสาธารณสุขth_TH
dc.subjectPublic Health Administrationth_TH
dc.subjectการกระจายอำนาจด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleมุมมองและความคาดหวังของประชาชนต่อการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสู่การบริหารจัดการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นth_TH
dc.title.alternativePeople’s Perspectives and Expectations on Devolution of Health Promoting Hospital to Local Administration Organizationth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeThe main objective of this study was to determine the people’s perspectives and expectations on devolution of health promoting hospital to local administration organization. The alternative aims of this study to impact of devolution of health promoting hospital to local administration organization, health database management system, problem and obstacles on devolution. Conceptual framework based on system theory and six building blocks. The study design was conducted Mixed methods. Study areas were regional health 1 and 4. Data collection method both questionnaire and in-depth interviews from health promoting hospitals both devolution and not devolution. Study subjects composed of 3 groups: 1) executives in the area, including both ministry of public health and local administrative organizations (n=48), 2) Officer of health promoting hospitals (n=104), and 3) people in each area (n=3,912). Results found that people whose experiences services of all 46 health promoting hospitals had perspectives and expectations do not difference between devolution and non-devolution. They would doctor home visit, drug quality, receipt drug from health promoting hospitals and do not need got drug at hospital, laboratory in community, and staff enough to services. Although, the satisfaction of people towards the service of between health promoting hospitals that devolution was higher than non-devolution with statistical significance (P value <0.05). Impact of health promoting hospitals devolution found that local administrative organizations were affected in terms of personnel that were not transfers as well, budget issue was not clear to use, and issue of the land and buildings that need process with another organization, and including health database management system, referring, there were no clear guideline. Problems and obstacles encountered in operation due to unclear communication, distrustfulness, untrustworthiness, and the recently started responsible office for public health in local administrative organizations make the devolution are many obstacles to implementation. Therefore, clarifying communication and trustfulness between the Ministry of Public Health and local administrative organizations will make the transfer. able to meet the expectations of the people.th_TH
dc.identifier.callnoWA540.JT3 ส845ม 2566
dc.identifier.contactno65-071
dc.subject.keywordHealth Decentralizeth_TH
dc.subject.keywordHealth Decentralizationth_TH
dc.subject.keywordการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขth_TH
dc.subject.keywordเขตสุขภาพth_TH
dc.subject.keywordRegional Health Areath_TH
dc.subject.keywordเขตสุขภาพที่ 1th_TH
dc.subject.keywordRegional Health Area 1th_TH
dc.subject.keywordเขตสุขภาพที่ 4th_TH
dc.subject.keywordRegional Health Area 4th_TH
.custom.citationสสิธร เทพตระการพร, Sasitorn Taptagaporn, ศุภางค์ วัฒนเสย, Supang Wattanasoei, จิรภัทร หลงกุล, Jirapat Longkul, คัติยา อีวาโนวิช, Katiya Ivanovitch, สิริมา มงคลสัมฤทธิ์ and Sirima Mongkolsomlit. "มุมมองและความคาดหวังของประชาชนต่อการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสู่การบริหารจัดการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5929">http://hdl.handle.net/11228/5929</a>.
.custom.total_download149
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year82
.custom.downloaded_fiscal_year142

Fulltext
Icon
Name: hs3016.pdf
Size: 4.362Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record