dc.contributor.author | เพ็ญนภา ศรีหริ่ง | th_TH |
dc.contributor.author | Pennapa Sriring | th_TH |
dc.contributor.author | ฉวีวรรณ ศรีดาวเรือง | th_TH |
dc.contributor.author | Chaweewan Sridawruang | th_TH |
dc.contributor.author | เตือนใจ ภูสระแก้ว | th_TH |
dc.contributor.author | Thuanjai Poosakaew | th_TH |
dc.contributor.author | พิทยา ศรีเมือง | th_TH |
dc.contributor.author | Phitthaya Srimuang | th_TH |
dc.contributor.author | รุจิราลักขณ์ พรหมเมือง | th_TH |
dc.contributor.author | Ruchiralak Prommueang | th_TH |
dc.contributor.author | ไพฑูรย์ พรหมเทศ | th_TH |
dc.contributor.author | Paitoon Promthet | th_TH |
dc.contributor.author | รัตน์ดาวรรณ คลังกลาง | th_TH |
dc.contributor.author | Ratdawan Klungklang | th_TH |
dc.contributor.author | ปณิตา ครองยุทธ | th_TH |
dc.contributor.author | Panita Krongyuth | th_TH |
dc.contributor.author | รุจี จารุภาชน์ | th_TH |
dc.contributor.author | Rujee Charupash | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-09-28T07:32:37Z | |
dc.date.available | 2023-09-28T07:32:37Z | |
dc.date.issued | 2566-09 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 17,3 (ก.ค. - ก.ย. 2566) : 388-408 | th_TH |
dc.identifier.issn | 2672-9415 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5931 | |
dc.description.abstract | ประชาชนไทยได้รับบริการสุขภาพปฐมภูมิแบบองค์รวมมาอย่างต่อเนื่อง การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินสถานการณ์บริการสุขภาพปฐมภูมิและระบุปัจจัยที่มีผลต่อการจัดบริการตามระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ 7 ด้าน ได้แก่ การจัดบริการสุขภาพ การวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพ การจัดการระบบข้อมูลสุขภาพ การจัดการเทคโนโลยี เครื่องมือและยา ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ ธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยใช้เครื่องมือรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่พัฒนาจากแนวทางพัฒนาระบบบริการสุขภาพ กลุ่มตัวอย่างคือตัวแทนจากศูนย์สุขภาพชุมชนของโรงพยาบาล และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คัดเลือกโดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย จำนวน 468 คน วิเคราะห์โดยใช้สถิติความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคสแควร์ และการถดถอยโลจิสติก ผลการศึกษาพบว่า จากคะแนนเต็ม 3 มีค่าเฉลี่ยของการจัดบริการสุขภาพโดยรวม เท่ากับ 2.29 คะแนน (SD=0.39) คะแนนน้อยที่สุด คือ การจัดบริการ (1.73 คะแนน, SD=0.51) ถัดมาคือ การวางแผนกำลังคน (1.92 คะแนน, SD=0.68) ซึ่งมีการดูแลผู้ป่วยโดยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 66.0 มีแพทย์ให้บริการนอกเวลาราชการ 10 แห่งใน 76 แห่ง และไม่มีแพทย์เวียนไปให้บริการ 96 แห่ง มีทีม 3 หมอดูแลเชิงรุกในชุมชน คิดเป็นร้อยละ 52.4 และดูแลโดยอาสาสมัครสาธารณสุข คิดเป็นร้อยละ 50.2 แจ้งข่าวผ่านอาสาสมัครสาธารณสุขร้อยละ 78.0 และส่วนใหญ่จัดช่องทางบริการเฉพาะสำหรับผู้สูงอายุ ผู้พิการ และ ผู้ด้อยโอกาส รวมทั้งอยากให้ปรับปรุงบริการของทีม 3 หมอ คิดเป็นร้อยละ 73.7 ส่วนบริการที่ได้คะแนน 5 ลำดับสุดท้ายซึ่งควรพัฒนา ได้แก่ การฟื้นฟูสุขภาพ การคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ การส่งเสริมการออกกำลังกาย งานการแพทย์ฉุกเฉิน และด้านสุขาภิบาล ปัจจัยที่มีผลต่อการให้บริการสุขภาพปฐมภูมิที่พึงประสงค์ คือ การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ (adjusted odds ratio 5.16, 95%CI 1.33-20.12, p value = 0.018) ส่วนปัจจัยที่ไม่มีผล คือ เขตสุขภาพ จำนวนประชากร ขนาดและมาตรฐานของหน่วยบริการ จึงควรมุ่งพัฒนาด้านการจัดบริการควบคู่กับการวางแผนเพิ่มแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวให้เพียงพอในการขึ้นทะเบียน จะช่วยให้สามารถจัดบริการสุขภาพตามที่จำเป็นได้อย่างครบถ้วน เพียงพอ และเหมาะสมกับบริบทของหน่วยบริการปฐมภูมิ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | บริการปฐมภูมิ (การแพทย์) | th_TH |
dc.subject | Primary Care (Medicine) | th_TH |
dc.subject | ระบบบริการสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | Health Service System | th_TH |
dc.subject | ระบบบริการสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Health Care System | th_TH |
dc.subject | นโยบายสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Health Policy | th_TH |
dc.title | การจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิยุคนโยบายสามหมอในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Primary Care Services Provision during the Implementation of 3-Healthcare Team Policy in the Northeast of Thailand | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to evaluate situations of primary care services and to examine influencing factors towards providing desirable primary care in 7 dimensions: service delivery, health workforce, health information systems, accessibility to essential medicines, financing, leadership/governance, and community participation. A total of 468 respondents from the community health centers and subdistrict health promoting hospitals in the Northeast of Thailand responded to the questionnaires based on guidelines for health service systems improvement. The data were analyzed using descriptive statistics (frequency, percentage, mean and standard deviation); and inferential statistics (binary logistic regression). The results showed that the overall mean score in providing desirable primary care services was 2.29 (SD = 0.39) from full score 3. Service delivery and health workforce had the lowest scores at 1.73 (SD = 0.51) and 1.92 (SD = 0.68), respectively. Of these respondents, 66.0% reported that their patients were cared for by family doctors, 52.4% was the proactive care service provided by the 3-healthcare teams (family doctor, public health professional and village health volunteer) and 50.2% by village health volunteers. Ten of the 76 primary care providers had doctors working after office hours, 96 primary care providers had no doctors even on the rotating schedule. Village health volunteers were reported to be an active health information sender by 78.0%. Moreover, 73.7% requested for improvement of the 3-healthcare team service. The five lowest-score services needed improvement were rehabilitation, consumer protection of the health products, physical activity promotion, emergency medical service, and sanitation. Influencing factor towards the provision of desirable primary care services was the registered primary care unit (adjusted odds ratio = 5.16, 95%CI 1.33 to 20.12, p value = 0.018), while the factors of health region, size of population, size and standard of primary care units were not statistically significant. To improve primary care services, the adequate human resources as the requirement for registered primary care unit according to the Primary Care System Act should be adhered. This would help provide essential primary care services entirely, adequately, and appropriately for Thais. | th_TH |
dc.subject.keyword | ทีมดูแลสุขภาพ | th_TH |
dc.subject.keyword | Healthcare Team | th_TH |
.custom.citation | เพ็ญนภา ศรีหริ่ง, Pennapa Sriring, ฉวีวรรณ ศรีดาวเรือง, Chaweewan Sridawruang, เตือนใจ ภูสระแก้ว, Thuanjai Poosakaew, พิทยา ศรีเมือง, Phitthaya Srimuang, รุจิราลักขณ์ พรหมเมือง, Ruchiralak Prommueang, ไพฑูรย์ พรหมเทศ, Paitoon Promthet, รัตน์ดาวรรณ คลังกลาง, Ratdawan Klungklang, ปณิตา ครองยุทธ, Panita Krongyuth, รุจี จารุภาชน์ and Rujee Charupash. "การจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิยุคนโยบายสามหมอในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5931">http://hdl.handle.net/11228/5931</a>. | |
.custom.total_download | 1179 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 53 | |
.custom.downloaded_this_year | 801 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 154 | |