Show simple item record

Evaluation of SASUK OON-CHAI, a Supportive Process for Organizational Health Literacy Improvement for Government Health Care Units

dc.contributor.authorสายชล คล้อยเอี่ยมth_TH
dc.contributor.authorSaichon Kloyiamth_TH
dc.contributor.authorกมลวรรณ สุขประเสริฐth_TH
dc.contributor.authorKamonwan Sukprasertth_TH
dc.contributor.authorภารุจีร์ เจริญเผ่าth_TH
dc.contributor.authorParujee Charoenphaoth_TH
dc.contributor.authorฐานิตา คุณารักษ์th_TH
dc.contributor.authorThanita Kunarakth_TH
dc.contributor.authorกันยา เค้นาth_TH
dc.contributor.authorKanya Kenath_TH
dc.date.accessioned2023-09-28T09:07:12Z
dc.date.available2023-09-28T09:07:12Z
dc.date.issued2566-09
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 17,3 (ก.ค. - ก.ย. 2566) : 429-441th_TH
dc.identifier.issn2672-9415
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5933
dc.description.abstractการเป็นองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพช่วยให้สถานบริการสุขภาพภาครัฐพัฒนาคุณภาพการบริการสุขภาพได้ดีขึ้น มีประสิทธิภาพมากขึ้น และมีผลโดยตรงต่อผู้ใช้บริการ สถาบันการแพทย์ของสหรัฐอเมริกา ให้คำนิยามแก่องค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพว่า เป็นระดับการดำเนินการขององค์กรในเรื่องนโยบาย การบริการ และระบบบริการที่ช่วยให้ผู้ใช้บริการเข้าถึง เข้าใจ และใช้ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสารและการบริการเพื่อดูแลสุขภาพของตนเองได้ง่ายขึ้น การเป็นองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพอาจยังเป็นเรื่องใหม่ในประเทศไทย จึงมีความจำเป็นที่จะต้องเพิ่มความตระหนักและส่งเสริมสนับสนุนความรอบรู้ด้านสุขภาพระดับองค์กรให้กับสถานบริการสุขภาพภาครัฐ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการสนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพในสถานบริการสุขภาพภาครัฐ โดยเป็นการศึกษาวิจัยเชิงประเมินผล ก่อน - หลัง โดยเปรียบเทียบสถานะองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพของกลุ่มที่ร่วมกิจกรรมการสนับสนุนและส่งเสริมฯ (กลุ่มร่วมเรียนรู้) กับกลุ่มที่เลือกเรียนรู้ด้วยตนเอง (กลุ่มศึกษาเอง) สถิติ Wilcoxon signed rank test ถูกนำมาใช้เปรียบเทียบคะแนนก่อน - หลังภายในองค์กร และ Mann-Whitney U test ถูกนำมาใช้เปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 ผลการศึกษา: กลุ่มร่วมเรียนรู้ จำนวน 248 แห่ง และกลุ่มศึกษาเอง จำนวน 207 แห่ง มีการประเมินผลอย่างน้อย 2 ครั้ง ก่อน – หลังการเข้าร่วมกิจกรรม มีคะแนนองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพเพิ่มขึ้นจากการประเมินครั้งแรกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ [กลุ่มร่วมเรียนรู้ pre-test 95.47%, SD=5.99, post-test 96.95%, SD=5.51, p=0.000; กลุ่มศึกษาเอง pre-test 96.61%, SD=6.77, post-test 97.83%, SD=4.01, p=0.002] อย่างไรก็ตาม คะแนนฯ ที่ประเมินครั้งแรกของกลุ่มร่วมเรียนรู้น้อยกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ [p=0.000] แต่คะแนนหลังทดลองของทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ [p=0.139]. สรุปผลการศึกษา: การสนับสนุนและส่งเสริมฯ ช่วยให้หน่วยบริการสุขภาพภาครัฐพัฒนาเป็นองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพได้มากขึ้นth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Literacyth_TH
dc.subjectความรอบรู้ด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Promotionth_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.titleผลของการสนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ ในสถานบริการสุขภาพภาครัฐ ในปฏิบัติการ สาสุข อุ่นใจth_TH
dc.title.alternativeEvaluation of SASUK OON-CHAI, a Supportive Process for Organizational Health Literacy Improvement for Government Health Care Unitsth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeOrganizational health literacy [OHL] helps health care organizations achieve high-quality, efficient, and meaningful care to service users, called health literate health care organizations [HLO]. OHL is defined by the Institute of Medicine as “the degree to which an organization implements policies, practices, and systems that make it easier for people to navigate, understand, and use information and its services to take care of their health.” As OHL was a new term in Thailand, there were needs to raise awareness and promote OHL practices at governmental health care organizations. This study was to evaluate the effect of “SASUK OON-CHAI”, a supportive web-based processes for OHL at governmental health care organizations under the Ministry of Public Health. The supportive processes were initiated by the Division of Health Literacy and Health Communication, Department of Health. An evaluative study design was employed to investigate the effects of SASUK OON-CHAI on OHL of governmental health care organizations that registered to participate in interactive online monthly meetings (group 1) and compared with organizations voluntarily chose to self-study the OHL (group 2). The OHL practices were reflected by the staff and service users before and after each health care organization developed and submitted their development plans. The percentages of staff and service users who perceived the OHL practices were compared between the pre-test and post-test using the Wilcoxon signed rank test, and between the two groups using the Mann-Whitney U test. The significance level is .05. Cohen’s D was calculated to indicate the effect size. Results: 455 organizations assessed their OHL practices at least twice with a minimum time interval of one month and their OHL practices were used for the evaluation. 248 chose to participate in the interactive online monthly meetings and 207 chose to self-study. There were statistically significant improvements in the OHL practices of both groups with a small effect size [group 1: pre-test 95.47%, SD = 5.99, post-test 96.95%, SD = 5.51, p = 0.000; group 2: pre-test 96.61%, SD = 6.77, post-test 97.83%, SD = 4.01, p = 0.002). At the pre-test, group 1 had a significantly lower percentage of the OHL practices (p = 0.000), but at the post-test, this percentage was not statistically different from that of group 2 (p = 0.139). Conclusion: Either OHL practices by registering in SASUK OON-CHAI and participating monthly online meetings or self-studying the OHL practices helped improve OHL.th_TH
dc.subject.keywordความแตกฉานด้านสุขภาพth_TH
dc.subject.keywordการรู้เท่าทันด้านสุขภาพth_TH
dc.subject.keywordความฉลาดทางสุขภาพth_TH
dc.subject.keywordOrganizational Health Literacyth_TH
dc.subject.keywordOHLth_TH
.custom.citationสายชล คล้อยเอี่ยม, Saichon Kloyiam, กมลวรรณ สุขประเสริฐ, Kamonwan Sukprasert, ภารุจีร์ เจริญเผ่า, Parujee Charoenphao, ฐานิตา คุณารักษ์, Thanita Kunarak, กันยา เค้นา and Kanya Kena. "ผลของการสนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ ในสถานบริการสุขภาพภาครัฐ ในปฏิบัติการ สาสุข อุ่นใจ." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5933">http://hdl.handle.net/11228/5933</a>.
.custom.total_download1239
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month110
.custom.downloaded_this_year1089
.custom.downloaded_fiscal_year370

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v17n ...
Size: 444.0Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

Show simple item record