Insulin Self-Titration Support in Type 2 Diabetes Patients
dc.contributor.author | ปณิธาน พิทักษ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Panitan Pitak | th_TH |
dc.contributor.author | ธีรพล ทิพย์พยอม | th_TH |
dc.contributor.author | Teerapon Dhippayom | th_TH |
dc.contributor.author | อัลจนา เฟื่องจันทร์ | th_TH |
dc.contributor.author | Anjana Fuangchan | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-12-27T08:02:33Z | |
dc.date.available | 2023-12-27T08:02:33Z | |
dc.date.issued | 2566-12 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 17,4 (ต.ค. - ธ.ค. 2566) : 811-820 | th_TH |
dc.identifier.issn | 2672-9415 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5987 | |
dc.description.abstract | โรคเบาหวานชนิดที่ 2 เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสำคัญและเป็นสาเหตุการตายอันดับที่ 9 ของประชากรโลก การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเป้าหมายเป็นสิ่งที่มีความจำเป็นอย่างมาก เนื่องจากช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดภาวะแทรกซ้อน โดยการตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือดและการปรับขนาดยาฉีดอินซูลินด้วยตนเองเป็นวิธีที่ช่วยให้ผู้ป่วยควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีขึ้น ทั้งนี้ จากผลการศึกษาที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางและคำแนะนำของแนวทางการรักษาเบาหวานทั้งไทยและต่างประเทศ แต่ผู้ป่วยอาจประสบกับอุปสรรคในการปรับขนาดยาดังกล่าวด้วยตนเอง การสนับสนุนการปรับขนาดยาฉีดอินซูลินด้วยตนเองจึงเป็นวิธีที่จะช่วยให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจและมั่นใจ ส่งผลให้เกิดประสิทธิผลในการรักษา ลดภาระของบุคลากรทางการแพทย์และติดตามการรักษาได้อย่างต่อเนื่อง แม้ว่าจะยังไม่มีแนวทางการแบ่งประเภทการสนับสนุนอย่างชัดเจน แต่อาจจำแนกแนวทางการสนับสนุนการปรับขนาดยาฉีดอินซูลินด้วยตนเองโดยพิจารณาจากรูปแบบของโปรแกรม ระยะเวลาของโปรแกรม ความถี่ในการสื่อสาร เป็นต้น โดยมีหลายการศึกษาที่แสดงให้เห็นว่าวิธีต่างๆ ที่สนับสนุนการปรับขนาดยาฉีดอินซูลินด้วยตนเองในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 สามารถลดระดับน้ำตาลสะสม (glycosylated hemoglobin, HbA1c) และความเสี่ยงของการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำได้ แต่ในบางการศึกษาก็ไม่พบผลดีต่อผลลัพธ์ดังกล่าว ปัจจุบันยังไม่สามารถระบุได้แน่ชัดว่าการสนับสนุนการปรับขนาดยาฉีดอินซูลินด้วยตนเองวิธีใดมีประสิทธิผลดีที่สุด จึงควรมีการศึกษาเปรียบเทียบแต่ละแนวทางในอนาคตเพื่อสามารถนำมาประยุกต์ใช้สนับสนุนการดูแลผู้ป่วยเบาหวานได้อย่างเหมาะสม | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | เบาหวาน | th_TH |
dc.subject | Diabetes | th_TH |
dc.subject | เบาหวานชนิดที่ 2 | th_TH |
dc.subject | Type 2 Diabetes | th_TH |
dc.subject | อินซูลิน | th_TH |
dc.subject | Insulin | th_TH |
dc.title | การสนับสนุนการปรับขนาดยาฉีดอินซูลินด้วยตนเองในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 | th_TH |
dc.title.alternative | Insulin Self-Titration Support in Type 2 Diabetes Patients | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Type 2 diabetes (T2D) is a chronic disease and a major health problem as the 9th rank leading cause of global deaths. Therefore, a well-controlled glycemic level within the target is essential as it is associated with a reduced risk of complications. Findings from previous literature demonstrated that self-monitoring of blood glucose and insulin self-titration were effective for glycemic control. A number of international and Thai clinical practice guidelines for diabetes have also recommended these approaches to patients with T2D. However, patients may encounter obstacles to adjust their insulin dose. In response to this problem, insulin self-titration support can help T2D patients to understand and gain confidence for insulin self-titration, achieve effective treatment, reduce the burden of healthcare professionals, and receive appropriate continual care. Although there are no specific criteria for the classification of insulin self-titration support strategies, it could be classified based on: type of the program, program duration, contact frequency, etc. Findings from previous studies also showed that several insulin self-titration support strategies can reduce glycosylated hemoglobin (HbA1c) and the risk of hypoglycemia in T2D patients. Nevertheless, other studies demonstrated contradicting effects on these outcomes in some support strategies. Currently, the most effective strategy to support insulin self-titration is yet to be determined. Hence, further comparative studies of these support strategies are warranted to inform appropriate diabetes care. | th_TH |
dc.subject.keyword | โรคเบาหวานชนิดที่ 2 | th_TH |
dc.subject.keyword | การปรับขนาดยาฉีดอินซูลิน | th_TH |
dc.subject.keyword | การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด | th_TH |
dc.subject.keyword | Insulin Self-Titration Support | th_TH |
dc.subject.keyword | Insulin Titration | th_TH |
dc.subject.keyword | Glycemic Control | th_TH |
dc.subject.keyword | T2D | th_TH |
.custom.citation | ปณิธาน พิทักษ์, Panitan Pitak, ธีรพล ทิพย์พยอม, Teerapon Dhippayom, อัลจนา เฟื่องจันทร์ and Anjana Fuangchan. "การสนับสนุนการปรับขนาดยาฉีดอินซูลินด้วยตนเองในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5987">http://hdl.handle.net/11228/5987</a>. | |
.custom.total_download | 1044 | |
.custom.downloaded_today | 2 | |
.custom.downloaded_this_month | 66 | |
.custom.downloaded_this_year | 1027 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 155 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ