Show simple item record

Key Performance Indicators for Refill Prescription Operations in the Drugstore Network of Lamphun Province

dc.contributor.authorปฐวี เดชชิตth_TH
dc.contributor.authorPatawee Detchitth_TH
dc.contributor.authorนภัสสร หลำรอดth_TH
dc.contributor.authorNapatsorn Lhamrodth_TH
dc.contributor.authorกฤษกร ธนไพโรจน์th_TH
dc.contributor.authorKrissakorn Thanapairojth_TH
dc.contributor.authorสรัญญา สุนันต๊ะth_TH
dc.contributor.authorSaranya Sunantath_TH
dc.contributor.authorนันทวรรณ กิติกรรณากรณ์th_TH
dc.contributor.authorNantawarn Kitikannakornth_TH
dc.date.accessioned2023-12-28T07:19:12Z
dc.date.available2023-12-28T07:19:12Z
dc.date.issued2566-12
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 17,4 (ต.ค. - ธ.ค. 2566) : 731-747th_TH
dc.identifier.issn2672-9415
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5990
dc.description.abstractโครงการลดความแออัดและการรอคอยรับยาที่โรงพยาบาลให้ผู้ป่วยสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเลือกรับยาโรคเรื้อรังต่อเนื่องได้ที่ร้านยาแผนปัจจุบันประเภท 1 ได้ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2562 การประเมินผลการดำเนินงานในระยะที่ผ่านมาพบรายงานจำนวนโรงพยาบาล ร้านยา ผู้ป่วย ใบสั่งยา และต้นทุนการดำเนินงาน การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มการพัฒนาตัวชี้วัดผลการดำเนินงานเติมยาตามใบสั่งของร้านยา รูปแบบการวิจัยเป็นแบบผสมทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์และสังเกตเพื่อจัดทำแผนผังกระบวนการดำเนินงานของแต่ละร้านยา และกำหนดตัวชี้วัดร่วมให้สอดคล้องตามวัตถุประสงค์โครงการ และการวิจัยเชิงปริมาณโดยบันทึกเวลาการปฏิบัติการแต่ละขั้นตอนของร้านยาเพื่อประเมินผลการบริหารการปฏิบัติการ ผลการศึกษาพบว่าทุกร้านยามีการปฏิบัติการ 5 ขั้นตอนที่เกิดคุณค่าในโครงการเติมยาให้ผู้ป่วย การประเมินร้อยละของเวลาที่ใช้ในการบริหารการปฏิบัติการของร้านยาสูงที่สุด (ร้อยละ 25.7) คือ ขั้นตอนการส่งมอบยาและให้คำแนะนำปรึกษาการใช้ยา ส่วนขั้นตอนการบันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบเพื่อเบิกค่าตอบแทนชดเชยค่าจัดบริการด้านยาและเวชภัณฑ์ และการบันทึกข้อมูลผู้ป่วยและยาคืนให้โรงพยาบาล มีร้อยละของเวลาการบริหารการปฏิบัติการรองลงมา (ร้อยละ 22.0) แต่เภสัชกรร้านยาให้ความเห็นว่าขั้นตอนนี้ยุ่งยาก และอาจจะไม่เพิ่มคุณค่าของโครงการแต่ยังจำเป็นต้องปฏิบัติ ข้อเสนอจากการศึกษานี้ คือ การปรับปรุงระบบการเชื่อมต่อข้อมูลสารสนเทศที่ซ้ำซ้อนและยุ่งยากเพิ่มขึ้นจากการให้บริการปกติของเภสัชกรร้านยาจะลดเวลาในการปฏิบัติการ และเพิ่มประสิทธิผลการบริหารการปฏิบัติการทั้งหมดของโครงการนี้ได้th_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectตัวชี้วัดth_TH
dc.subjectKey Performance Indicatorsth_TH
dc.subjectใบสั่งยาth_TH
dc.subjectร้านขายยาth_TH
dc.subjectDrugstoresth_TH
dc.subjectOperation Managementth_TH
dc.titleตัวชี้วัดผลการดำเนินงานเติมยาตามใบสั่งยาของเครือข่ายร้านยาจังหวัดลำพูนth_TH
dc.title.alternativeKey Performance Indicators for Refill Prescription Operations in the Drugstore Network of Lamphun Provinceth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThe universal coverage scheme has included drugstores as health care provider networks running refill prescriptions from October 1, 2019. The evaluation of the pilot program focused on lessening hospital congestion and waiting time by displaying the number of hospitals, pharmacies, patients, and prescriptions filled. The purpose of this study was to expand key performance indicators (KPIs) for evaluating the drugstore networks. The study design was a mixed method, with a qualitative analysis comprising in-depth interviews and observations and a quantitative assessment of data in the form of a pharmacy operations report. The findings indicated that all drugstores used a five-step operation management process. The highest operation management efficacy (25.7%) was in the process of dispensing and counseling. This process also provided value to the project. The process of data handling for reimbursement and patient’s pharmacy information update to the hospital’s database achieved the second highest operation management (22.0%). The pharmacists commented on process complexity and non-value added to the project. The present study proposed that the simplified standard pharmacy information practice of drugstore network to reduce the length of this operation but increase efficacious time duration.th_TH
dc.subject.keywordบริหารการปฏิบัติการth_TH
dc.subject.keywordร้านยาth_TH
.custom.citationปฐวี เดชชิต, Patawee Detchit, นภัสสร หลำรอด, Napatsorn Lhamrod, กฤษกร ธนไพโรจน์, Krissakorn Thanapairoj, สรัญญา สุนันต๊ะ, Saranya Sunanta, นันทวรรณ กิติกรรณากรณ์ and Nantawarn Kitikannakorn. "ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานเติมยาตามใบสั่งยาของเครือข่ายร้านยาจังหวัดลำพูน." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5990">http://hdl.handle.net/11228/5990</a>.
.custom.total_download257
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month2
.custom.downloaded_this_year232
.custom.downloaded_fiscal_year32

Fulltext
Icon
Name: hsri-journal-v17n ...
Size: 988.1Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

Show simple item record