Now showing items 1-20 of 65

    • 2 ประเภทยา ที่ขายในร้านชำได้และไม่ได้ 

      ภาณุพงศ์ พุทธรักษ์; Panupong Puttarak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      การแบ่งประเภทของยาที่จำหน่ายในร้านขายของชำ แบ่งได้ 2 ประเภท คือ 1) ยาสามัญประจำบ้าน กลุ่มยาประเภทนี้สามารถหาซื้อได้ตามร้านขายของชำ ซึ่งผู้ขาย/หรือจัดจำหน่ายโดยไม่ผิดกฎหมาย เพราะตัวยามีอันตรายค่อนข้างน้อย ใช้รักษาบรรเทาอา ...
    • 4 คาถา ต้องมีแล้วชีวิตจะปลอดภัยห่างไกลอันตราย 

      ภาณุพงศ์ พุทธรักษ์; Panupong Puttarak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      4 คาถา ต้องมีแล้วชีวิตจะปลอดภัยห่างไกลอันตราย ควรตรวจสอบผลิตภัณฑ์ก่อนซื้อ 1) ต้องมีฉลากภาษาไทยกำกับ 2) ต้องมีแหล่งที่ผลิต 3) ต้องมี อย. สำหรับเครื่องสำอางต้องมีเลขจดแจ้ง ยาต้องมีเลขทะเบียนยา และ 4) ต้องมีความน่าเชื่อถือ ...
    • 5 Do and Don't : 5 ข้อเสนอแนะการเลือกและหลีกเลี่ยงเครื่องสำอาง 

      ภาณุพงศ์ พุทธรักษ์; Panupong Puttarak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      5 ข้อเสนอแนะการเลือกและหลีกเลี่ยงเครื่องสำอาง สำหรับ 5 ข้อเสนอแนะการเลือกเครื่องสำอาง มีดังนี้ คือ 1) เลือกซื้อสินค้าที่มีความน่าเชื่อถือ มีหลักแหล่ง มีฉลากภาษาไทยและแสดงสถานที่ผลิตชัดเจน 2) เลือกซื้อสิ้นค้าที่มีข้อมูล อย. ...
    • A to Z: Bench to Bedside in Medical Mycology 

      วัชรมาศ ม่วงแก้ว; Watcharamat Muangkaew; Pronpan Khum-eam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      โปสเตอร์ให้ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับเชื้อรา
    • COVID-19 Evidence Update: 10% ของชาวอิสราเอลที่ไม่รับวัคซีน ส่งผลอย่างไรกับวิกฤตโควิดระลอกใหม่ในประเทศ 

      โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      ในปัจจุบัน 15% (ประมาณ 1,105,000 คน) ของชาวอิสราเอลที่มีอายุเกิน 12 ปี และ 10% (ประมาณ 755,000 คน) ที่มีอายุเกิน 20 ปี ยังคงไม่ได้รับวัคซีน ถึงแม้ว่าจะมีสิทธิรับวัคซีนก็ตาม และคนกลุ่มนี้เองที่มีรายงานว่าเป็นคนส่วนใหญ่ที่ ...
    • COVID-19 Evidence Update: การฉีดวัคซีนโควิด-19 แบบสลับหรือเปลี่ยนชนิดในต่างประเทศ 

      โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      ในต่างประเทศมีการฉีดวัคซีนต่างชนิดหรือต่างบริษัทผู้ผลิต โดยเหตุผลส่วนใหญ่ คือ 1. ป้องกันการเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากวัคซีน (AstraZeneca ในเข็มสอง) 2. แก้ปัญหาวัคซีนขาดคราว 3. ฉีดกระตุ้นภูมิ (booster dose) ในประชากรกล ...
    • COVID-19 Evidence Update: การศึกษาเรื่องการสลับวัคซีนโควิด-19 บอกอะไรเราบ้าง 

      โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      1. การศึกษาเรื่อง Com-COV1 พบว่าการฉีดวัคซีนแบบสลับด้วยวัคซีน AstraZeneca เข็มแรก และ Pfizer-BioNTech เป็นเข็มที่ 2 ห่างกัน 4 สัปดาห์ ให้ผลในการสร้างภูมิต้านทานบางชนิด ไม่ด้อยกว่าการฉีดวัคซีน AstraZeneca ทั้งสองเข็ม ...
    • COVID-19 Evidence Update: มีประเทศใดบ้างที่แนะนำให้มีการฉีดวัคซีนกระตุ้นภูมิคุ้มกันโควิด-19 เข็มที่ 3 

      โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      ณ วันที่ 14 กรกฎาคม 2564 มี 7 ประเทศ ได้แก่ ฝรั่งเศส สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ บาห์เรน ตุรกี สาธารณรัฐโดมินิกัน อินโดนีเซีย และสหราชอาณาจักร ที่มีนโยบายแนะนำให้มีการฉีดวัคซีนภูมิคุ้มกันโควิด 19 เข็มที่ 3 ซึ่งเป็นที่น่าสังเกตว่า ...
    • COVID-19 Evidence Update: รู้หรือไม่ ข้อความแจ้งเตือนสามารถกระตุ้นให้คนมาฉีดวัคซีนมากขึ้นได้ 

      โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      ทุกประเทศมีประชาชนอย่างน้อยร้อยละ 10 ถึง 20 ไม่ยอมรับวัคซีนทั้งที่มีวัคซีนอย่างเพียงพอ ดังนั้นรัฐบาลประเทศต่างๆ จึงพยายามค้นหาวิธีทำให้ประชาชนรับวัคซีนโควิดได้มากที่สุด หนึ่งในกลยุทธ์ที่น่าสนใจและได้รับการพิสูจน์จากงานวิจัย ...
    • COVID-19 Evidence Update: เมื่อวัคซีนทั่วโลก ปะทะ โควิดกลายพันธุ์ วัคซีนชนิดไหนลดอาการป่วยจากสายพันธุ์ต่างๆ ได้เท่าไหร่บ้าง 

      โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      ข้อมูลวัคซีนชนิดต่างๆ ในการลดอาการป่วยจากโควิดสายพันธุ์ต่างๆ
    • THAI Model คู่มือดูแลเด็กพิเศษด้วยหัวใจ-ความสุข 

      แก้วตา นพมณีจำรัสเลิศ; Kaewta Nopmaneejumruslers (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      คู่มือดูแลเด็กพิเศษด้วยหัวใจ-ความสุขนี้ เป็นโปรแกรมที่ออกแบบเพื่อพ่อแม่คนไทยตามบริบทสังคมไทยให้สามารถเข้าใจตัวตนของเด็กออทิสติก เด็กพิเศษ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โดยเน้น 3 เรื่องหลัก พัฒนาการอารมณ์และสังคม, สัมพันธภาพในครอบครัว ...
    • การควบคุม ป้องกันวัณโรค 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)
      การป้องกันวัณโรคที่ดีที่สุดคือ การตรวจหาและรักษาผู้ป่วยวัณโรคให้เร็วที่สุด การให้วัคซีนบีซีจีแก่เด็กทารกแรกเกิด ไม่สามารถป้องกันเด็กจากวัณโรคได้อย่างเด็ดขาด และควรป้องกันตนเองไม่ให้ติดเชื้อเอชไอวี เพราะจะทำให้มีโอกาสป่วย ...
    • การปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย สู่การมีสุขภาวะที่ดีของคนพิการและผู้สูงอายุ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-08-22)
      Infographic ข้อมูลจากงานวิจัย การวิเคราะห์ต้นทุนและผลลัพธ์ของบริการปรับสภาพบ้านสำหรับคนพิการด้านการเคลื่อนไหวและผู้สูงอายุ อ่านฉบับเต็มได้ที่ http://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/4394
    • การล้มในผู้สูงอายุ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-08-22)
      Infographic ข้อมูลจากงานวิจัย การล้มในผู้สูงอายุไทยในเขตเมืองและชานเมือง : อุบัติการณ์ ปัจจัยเสี่ยง การจัดการและการป้องกัน อ่านฉบับเต็มได้ที่ http://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/4310
    • กินน้อยลง อดอาหาร ออกกำลังกาย ลดน้ำหนักจริงหรือ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-02)
      Infographic ข้อมูลจากโครงการวิจัย ผลของการออกกำลังและการบริโภคอาหารต่อการเกิดโรคสมองเสื่อม โรคไตเรื้อรัง โรคเบาหวาน และโรคหัวใจและหลอดเลือดในประชากรไทยในจังหวัดอุบลราชธานี โครงการต่อเนื่อง ปีที่ 2 (https://kb.hsri.or.th/ ...
    • ข้อมูลรหัสพันธุกรรม คืออะไร 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. หน่วยงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการบูรณาการจีโนมิกส์ประเทศไทย; Health Systems Research Institute. Genomics Thailand Coordinating Unit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-30)
      รหัสพันธุกรรมของมนุษย์ เป็นพิมพ์เขียวที่กำหนดว่าเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของคนเราแต่ละคน ควรมีการทำงานอย่างไร รหัสพันธุกรรมนี้อยู่ในดีเอ็นเอ (DNA) และ อาร์เอ็นเอ (RNA) ภายในเซลล์ต่างๆ ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อแม่ ...
    • จีโนมิกส์ ประเทศไทย 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      Infographic แนะนำแผนงานจีโนมิกส์ ประเทศไทย (Genomics Thailand) การแพทย์จีโนมิกส์ คือ การแพทย์ที่อาศัยเทคโนโลยีพันธุศาสตร์ระดับโมเลกุล เพื่อประเมินความเสี่ยง วินิจฉัย และพยากรณ์โรค วิสัยทัศน์ คือ ประเทศไทยเป็นผู้นำด้านการ ...
    • ติดเชื้อดื้อยา สาเหตุยอดฮิต เจ็บ ป่วย ตาย 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-03-23)
      Infographic จากงานวิจัยการป้องกันการติดเชื้อดื้อยาในหออภิบาลผู้ป่วย (Prevention of Multidrug Resistant Organism Infections in Intensive Care Units) อ่านงานวิจัยฉบับเต็มได้ที่ http://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/4265
    • ทราบได้อย่างไรว่ามะเร็งเต้านมที่เป็นอยู่มีสาเหตุมาจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรมหรือไม่ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. หน่วยงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการบูรณาการจีโนมิกส์ประเทศไทย; Health Systems Research Institute. Genomics Thailand Coordinating Unit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-30)
      การวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งเต้านมและมีลักษณะทางคลินิกอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ 1. อายุเมื่อแรกวินิจฉัยไม่เกิน 45 ปี 2. อายุเมื่อแรกวินิจฉัยระหว่าง 40-50 ปี และมีญาติใกล้ชิด อย่างน้อย 1 คน เป็นมะเร็งเต้านม มะเร็งตับอ่อน ...
    • ทำความรู้จักโรคสมาธิสั้น 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01)
      โรคสมาธิสั้น เป็นโรคที่เกิดจากความบกพร่องของพัฒนาการ ในประเทศไทยพบความชุกของโรคในเด็กนักเรียนชั้น ป.1-5 ถึงร้อยละ 8.1 ประมาณการได้ว่ามีเด็กนักเรียนชั้น ป.1-5 ทั่วประเทศป่วยเป็นโรคสมาธิสั้นถึง 1 ล้านคน และมักพบในเด็กชายมา ...