Photo: ชิ้นงานเข้าใหม่
แสดงรายการ 21-40 จาก 65
-
เครื่องมือค้นหาผู้สัมผัสวัณโรค
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)โครงการพัฒนาคู่มือและเครื่องมือที่ช่วยเพิ่มความครอบคลุมในการค้นหาผู้สัมผัสวัณโรคและผลกระทบทางสังคมแก่ผู้ป่วยและผู้สัมผัสโรค หนึ่งในผลงานวิจัยของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ที่นำมาสู่การพัฒนาเป็นหลักสูตรการสื่อสารเพื ... -
การควบคุม ป้องกันวัณโรค
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)การป้องกันวัณโรคที่ดีที่สุดคือ การตรวจหาและรักษาผู้ป่วยวัณโรคให้เร็วที่สุด การให้วัคซีนบีซีจีแก่เด็กทารกแรกเกิด ไม่สามารถป้องกันเด็กจากวัณโรคได้อย่างเด็ดขาด และควรป้องกันตนเองไม่ให้ติดเชื้อเอชไอวี เพราะจะทำให้มีโอกาสป่วย ... -
รู้ เข้าใจวัณโรค
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)วัณโรคเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ติดต่อทางลมหายใจจากคนสู่คน ด้วยการแพร่กระจายผ่านละอองเสมหะจากการไอ จาม พูดคุย แต่ไม่ติดต่อด้วยการกินอาหารหรือน้ำด้วยกัน แต่ควรใช้ช้อนกลางและแยกภาชนะกัน วัณโรคเกิดได้กับหลายส่วนของร่างกาย เช่น ... -
A to Z: Bench to Bedside in Medical Mycology
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)โปสเตอร์ให้ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับเชื้อรา -
ที่นี่ปลอดวัณโรค แน่ใจ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)วันนี้ วัณโรคยังอยู่กับสังคมไทย ไทยติดอันดับประเทศที่มีผู้ป่วยวัณโรคจำนวนมาก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 และปี พ.ศ. 2555 มีผู้เสียชีวิตกว่าหมื่นราย ประชากรโลก 1 ใน 3 เป็นผู้ติดเชื้อวัณโรคโดยไม่ปรากฏอาการ วัณโรคเป็นแล้วตายแต่สามา ... -
โรคสมาธิสั้น : เป็นได้ เปลี่ยนได้ ถ้าปรับพฤติกรรม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01)เด็กโรคสมาธิสั้น ควรได้รับการดูแลและลดสิ่งเร้า เช่น จัดสถานที่สำหรับทำการบ้าน อ่านหนังสือ โดยไม่มีสิ่งรบกวน ฝึกให้เด็กทำกิจกรรมในที่เงียบๆ หรืออยู่ในสถานที่สงบ ลดการไปเที่ยวห้างหรือสถานที่ที่มีคนพลุกพล่าน จำกัดการดูทีวี ... -
พ่อแม่เข้าใจ จุดเริ่มต้นใหญ่ของการแก้ปัญหาเด็กสมาธิสั้น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01)เด็กโรคสมาธิสั้น จำเป็นต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือจากครอบครัวอย่างเข้าใจ ดังนั้น จุดเริ่มต้นสำคัญของการแก้ปัญหานี้คือ พ่อแม่ผู้ปกครอง ที่ควรมีทัศนคติต่อเด็กสมาธิสั้นอย่างถูกต้อง เพื่อลดผลกระทบจากจุดอ่อน และช่วยเสริมการพัฒนาจุดเด่น ... -
วิจัยความรู้สู่แนวทางป้องกัน ดูแล รักษา โรคสมาธิสั้น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01)โรคสมาธิสั้น สามารถป้องกันและรักษาได้โดย วิธีการป้องกัน : สังเกตและคัดกรองเบื้องต้นด้วยเครื่องมือ เช่น แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) แบบคัดกรอง SNAP-IV, KUS-SI, Conners rating scale, THASS ฯลฯ วิธีการดูแล : ปรับพฤติกรรมท ... -
ทำความรู้จักโรคสมาธิสั้น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01)โรคสมาธิสั้น เป็นโรคที่เกิดจากความบกพร่องของพัฒนาการ ในประเทศไทยพบความชุกของโรคในเด็กนักเรียนชั้น ป.1-5 ถึงร้อยละ 8.1 ประมาณการได้ว่ามีเด็กนักเรียนชั้น ป.1-5 ทั่วประเทศป่วยเป็นโรคสมาธิสั้นถึง 1 ล้านคน และมักพบในเด็กชายมา ... -
วิจัยสู่ชุดสิทธิประโยชน์ ตรวจยีนมะเร็งเต้านม บริการการแพทย์แม่นยำเพื่อคนไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-30)โครงการวิจัยการประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจยีน BRCA1/BRCA2 ในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมและมะเร็งรังไข่ เพื่อตรวจหาผู้ที่เป็นมะเร็งที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมในประเทศไทย เป็นงานวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากสถาบัน ... -
ทราบได้อย่างไรว่ามะเร็งเต้านมที่เป็นอยู่มีสาเหตุมาจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรมหรือไม่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-30)การวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งเต้านมและมีลักษณะทางคลินิกอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ 1. อายุเมื่อแรกวินิจฉัยไม่เกิน 45 ปี 2. อายุเมื่อแรกวินิจฉัยระหว่าง 40-50 ปี และมีญาติใกล้ชิด อย่างน้อย 1 คน เป็นมะเร็งเต้านม มะเร็งตับอ่อน ... -
ข้อมูลรหัสพันธุกรรม คืออะไร
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-30)รหัสพันธุกรรมของมนุษย์ เป็นพิมพ์เขียวที่กำหนดว่าเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของคนเราแต่ละคน ควรมีการทำงานอย่างไร รหัสพันธุกรรมนี้อยู่ในดีเอ็นเอ (DNA) และ อาร์เอ็นเอ (RNA) ภายในเซลล์ต่างๆ ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อแม่ ... -
ระบบการเตือนภัยสุขภาพจากความร้อนแบบมีส่วนร่วมจากชุมชน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)โปสเตอร์ “ระบบการเตือนภัยสุขภาพจากความร้อนแบบมีส่วนร่วมจากชุมชน” ภายใต้โครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบการเตือนภัยสุขภาพจากความร้อนแบบมีส่วนร่วมจากชุมชนและระบบเฝ้าระวังโรคที่สัมพันธ์กับความร้อน สำหรับให้ความรู้การเตือนภัย ... -
ออทิสติก-คนพิเศษ ที่ต้องสังเกตและเข้าใจ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)'ออทิสติก' เป็นโรคที่มีความผิดปกติของพัฒนาการและระบบประสาท ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญที่ควรจะต้องได้รับการแก้ไขและดูแลอย่างถูกวิธี ซึ่งในเด็กปฐมวัยถือเป็นช่วงวัยที่สมองกำลังมีการพัฒนา อีกทั้งยังรวมถึงพัฒนาการทางร่างกาย อารมณ์และจิตใจ ... -
THAI Model คู่มือดูแลเด็กพิเศษด้วยหัวใจ-ความสุข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)คู่มือดูแลเด็กพิเศษด้วยหัวใจ-ความสุขนี้ เป็นโปรแกรมที่ออกแบบเพื่อพ่อแม่คนไทยตามบริบทสังคมไทยให้สามารถเข้าใจตัวตนของเด็กออทิสติก เด็กพิเศษ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โดยเน้น 3 เรื่องหลัก พัฒนาการอารมณ์และสังคม, สัมพันธภาพในครอบครัว ... -
รอบรู้ เท่าทัน ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ผู้บริโภคควรรู้จักสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายที่แสดงการขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์สุขภาพ เพื่อประโยชน์ในการพิจารณาก่อนตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพนั้น เช่น อาหาร ควรสังเกตเครื่องหมาย อย. หรือเลขสารบบอาหาร เครื่องมือแพทย์ ... -
รู้ไว้ใช่ว่า ก่อนซื้อยาจากร้านขายของชำ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)ร้านขายของชำเป็นสถานที่อำนวยความสะดวกที่อยู่คู่กับคนไทยมานาน รู้หรือไม่ว่า? เมื่อเราเกิดอาการเจ็บป่วยแล้วไปซื้อยาในร้านขายของชำรับประทานเอง ทำให้เกิดความเสี่ยงที่จะได้รับอันตรายจากการใช้ยา ไม่ว่าจะเป็นภาวะดื้อยา ... -
2 ประเภทยา ที่ขายในร้านชำได้และไม่ได้
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)การแบ่งประเภทของยาที่จำหน่ายในร้านขายของชำ แบ่งได้ 2 ประเภท คือ 1) ยาสามัญประจำบ้าน กลุ่มยาประเภทนี้สามารถหาซื้อได้ตามร้านขายของชำ ซึ่งผู้ขาย/หรือจัดจำหน่ายโดยไม่ผิดกฎหมาย เพราะตัวยามีอันตรายค่อนข้างน้อย ใช้รักษาบรรเทาอา ... -
4 คาถา ต้องมีแล้วชีวิตจะปลอดภัยห่างไกลอันตราย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)4 คาถา ต้องมีแล้วชีวิตจะปลอดภัยห่างไกลอันตราย ควรตรวจสอบผลิตภัณฑ์ก่อนซื้อ 1) ต้องมีฉลากภาษาไทยกำกับ 2) ต้องมีแหล่งที่ผลิต 3) ต้องมี อย. สำหรับเครื่องสำอางต้องมีเลขจดแจ้ง ยาต้องมีเลขทะเบียนยา และ 4) ต้องมีความน่าเชื่อถือ ... -
เช็คให้ชัวร์ 3 ช่องทางง่ายๆ แค่ปลายนิ้ว
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)เช็คให้ชัวร์ 3 ช่องทางง่ายๆ แค่ปลายนิ้ว โดยใช้ 3 ช่องทาง ดังนี้ 1.ไปที่ Google Search พิมพ์คำว่า ตรวจสอบการอนุญาต สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข 2. Line application ไปที่เมนูเพิ่มเพื่อน พิมพ์คำว่า @fdathai ...