Show simple item record

Recommendations to Support the Development of Operation and M&E Process for Telemedicine Programme Based on Lessons Learned from Thailand and the World

dc.contributor.authorวรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัยth_TH
dc.contributor.authorWanrudee Isaranuwatchaith_TH
dc.contributor.authorนิธิเจน กิตติรัชกุลth_TH
dc.contributor.authorNitichen Kittiratchakoolth_TH
dc.contributor.authorวิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตรth_TH
dc.contributor.authorVilawan Luankongsomchitth_TH
dc.contributor.authorสุธาสินี คำหลวงth_TH
dc.contributor.authorSuthasinee Kumluangth_TH
dc.contributor.authorปภาดา ราญรอนth_TH
dc.contributor.authorPapada Ranronth_TH
dc.contributor.authorเบญจมพร เอี่ยมสกุลth_TH
dc.contributor.authorBenjamaporn Eiamsakulth_TH
dc.contributor.authorปิยดา แก้วเขียวth_TH
dc.contributor.authorPiyada Gaewkhiewth_TH
dc.contributor.authorโชติกา สุวรรณพานิชth_TH
dc.contributor.authorChotika Suwanpanichth_TH
dc.contributor.authorเฌอริลิณญ์ ประทุมสุวรรณ์th_TH
dc.contributor.authorSherilyn Pratumsuwanth_TH
dc.contributor.authorธนกิตติ์ อธิบดีth_TH
dc.contributor.authorThanakit Athibodeeth_TH
dc.contributor.authorธนายุต เศรณีโสภณth_TH
dc.contributor.authorThanayut Saeraneesophonth_TH
dc.contributor.authorจิราธร สุตะวงศ์th_TH
dc.contributor.authorJiratorn Sutawongth_TH
dc.contributor.authorธนัยนันท์ ชวนไชยะกูลth_TH
dc.contributor.authorTanainan Chuanchaiyakulth_TH
dc.contributor.authorDabak, Saudamini Vishwanathth_TH
dc.contributor.authorPrakash, Annapoornath_TH
dc.contributor.authorChavarina, Kinanti Khansath_TH
dc.contributor.authorMyint, Aye Nandarth_TH
dc.contributor.authorLiu, Sichenth_TH
dc.date.accessioned2024-02-07T07:16:27Z
dc.date.available2024-02-07T07:16:27Z
dc.date.issued2567-01
dc.identifier.otherhs3067
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/6006
dc.description.abstractภูมิหลัง : การแพทย์ทางไกลหรือโทรเวช (Telemedicine) ถือเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณสุขบนโลกดิจิทัล (Digital Health) โดยเป็นความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่ช่วยส่งเสริมให้การให้บริการทางการแพทย์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สะดวกและรวดเร็วทั้งต่อผู้ให้บริการและผู้รับบริการในประเทศไทย สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาระบบบริการการแพทย์ทางไกลอย่างก้าวกระโดด โดยโรงพยาบาลรัฐและเอกชนหลายแห่งได้นำระบบดังกล่าวมาใช้และผสานเข้ากับการให้บริการทางการแพทย์โดยทั่วไป อย่างไรก็ตาม แม้จะมีการให้บริการการแพทย์ทางไกลในประเทศไทย แต่ยังคงขาดนโยบายระดับชาติ (National Telemedicine Policy) รวมถึงแนวทางการดำเนินงานหรือแนวเวชปฏิบัติที่ชัดเจนและครอบคลุม วัตถุประสงค์ : โครงการวิจัยนี้ ประกอบด้วยการศึกษา 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 การศึกษารายกรณีการพัฒนาและการให้บริการการแพทย์ทางไกลในประเทศไทย ส่วนที่ 2 การถอดบทเรียนบริการการแพทย์ทางไกลในต่างประเทศ และ ส่วนที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูลด้านการใช้งานของระบบการแพทย์ทางไกลและแนวโน้มการใช้งานการแพทย์ทางไกลในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและโรงพยาบาล ระเบียบวิธีวิจัย : การศึกษาส่วนที่ 1 และ 2 ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ผลตามกรอบการศึกษา ประกอบด้วย การทบทวนเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึกและการอภิปรายกลุ่ม ส่วนที่ 3 เป็นการศึกษาเชิงปริมาณ ที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิจากคลังข้อมูลสุขภาพ 43 แฟ้มในระบบบันทึกข้อมูลและประมวลผลข้อมูลการบริการทางการแพทย์ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) และข้อมูลจากสถานพยาบาลกลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมการศึกษา ผลการศึกษาและอภิปรายผล : การแพทย์ทางไกลถูกพัฒนาขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาการให้บริการในสถานพยาบาล ได้แก่ ความแออัดของผู้รับบริการ การรอคอยเพื่อเข้ารับบริการที่ยาวนานและการไม่สามารถเข้าถึงบริการของผู้ป่วยในช่วงที่มีการระบาดของโรคโควิด-19 หรือผู้ป่วยที่อยู่ห่างไกล สถานพยาบาลกลุ่มตัวอย่างมีรูปแบบการให้บริการการแพทย์ทางไกลที่หลากหลาย จากการศึกษาข้อมูลการใช้บริการการแพทย์ทางไกล พบว่า ผู้ใช้บริการส่วนใหญ่อยู่ในวัยทำงาน (ช่วงอายุ 25-59 ปี) และเป็นเพศหญิง โดยจำนวนการเข้ารับบริการการแพทย์ทางไกลในช่วงที่มีการระบาดของโรคโควิด-19 สูงกว่าช่วงที่ไม่มีการระบาดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จากการศึกษาทั้ง 3 ส่วน คณะผู้วิจัยพบว่าการพัฒนาและให้บริการการแพทย์ทางไกลอย่างยั่งยืนมีองค์ประกอบสำคัญที่ต้องคำนึง 6 ด้าน ได้แก่ 1) ระบบอภิบาลและการทำงานร่วมกัน 2) กฎ ระเบียบ และมาตรฐานการดำเนินงาน 3) ความพร้อมของบุคลากร 4) งบประมาณ และระบบการเบิกชดเชยค่าบริการ 5) โครงสร้างพื้นฐาน และ 6) บริการและแอปพลิเคชัน นอกจากองค์ประกอบในข้างต้นแล้ว การให้บริการการแพทย์ทางไกลอย่างยั่งยืนจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีปัจจัย 4 ด้าน ได้แก่ ความรอบรู้ด้านดิจิทัลของประชาชน (ทั้งผู้ให้และผู้รับบริการ) ความต้องการในการให้บริการและรับบริการ ความปลอดภัยและความครอบคลุมของบริการที่ประชาชนทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงบริการได้อย่างเท่าเทียมth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectTelehealthth_TH
dc.subjectTelemedicineth_TH
dc.subjectการแพทย์ทางไกลth_TH
dc.subjectHealth Policyth_TH
dc.subjectนโยบายสาธารณสุขth_TH
dc.subjectการจัดการด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth--Managementth_TH
dc.subjectการบริหารสาธารณสุขth_TH
dc.subjectPublic Health Administrationth_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการจัดทำข้อเสนอแนะเพื่อสนับสนุนการพัฒนาแนวปฏิบัติและแนวทางการติดตามประเมินผลของระบบการแพทย์ทางไกล ผ่านการถอดบทเรียนในบริบทไทยและบริบทโลกth_TH
dc.title.alternativeRecommendations to Support the Development of Operation and M&E Process for Telemedicine Programme Based on Lessons Learned from Thailand and the Worldth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeBackground: Telemedicine is considered a part of digital health and represent s a technological advancement in information technology that can promote effective, efficient, and timely medical services for both providers and recipients in Thailand. The COVID 19 pandemic had been a significant factor leading to transformative changes and advancements in telemedicine services. Many public and private hospitals integrated telemedicine into their standard services. A lthough telemedicine services have been around in Thailand, there remained a lack of national telemedicine policies and compr ehensive guidelines for clinical practices and monitoring and evaluation to support the current and future planning Objectives: This research project consisted of three studies : P art 1 focused on studying the development and provision of telemedicine in Thailand, specifically examining the development and utilization of telemedicine in various levels of Thai healthcare facilities (tertiary, secondary, primary, and specialized hospitals) including the factors affecting the development and provision of telemedicine Part 2 aimed to extract lessons from telemedicine services in other countries to serve as guidelines for the development and implementation of telemedicine for Thailand; and Pa rt 3 analyzed data on the telemedicine utilization and trends in telemedicine usage at different levels of hospital and overall at the national level under Universal Coverage Scheme (UCS) which aimed to investigate the situation s under the utilization of telemedicine services and to understand the impact of using telemedicine services for both preceding and subsequent to the declaration of the National Health Security Office policy. Methods: Part 1 and part 2 adopted a qualitative approach to collect and analyze data using frameworks, including document reviews, in depth interviews, and group discussions. Part 3 used a quantitative approach to analyses secondary data from the health database s at the National Health Security Office and associated hospitals. Stakeholder consultation meetings were conducted to obtain feedback from all relevant stakeholders since the project inception to knowledge dissemination. Results and Discussion: The development of telemedicine aimed to address service related issues in healthcare facilities, such as patient congestion, lengthy waiting times for services, and difficulties accessing services during the COVID 19 pandemic or for patients living in rural areas. Various healthcare facilities presented diverse telemedicine service models. Analyses of telemedicine service usage data revealed that the majority of users were within the working age group (25-59 years old), and predominantly female. During th e COVID 19 pandemic period, there was a higher frequency of telemedicine service utilization, revealing statistically significantly than non pandemic periods. Experience sharing from India and Singapore highlighted similar areas for this work to focus on. According to the findings of all three parts, it could be concluded that sustainable development and provision of telemedicine required deliberation in six building block s: 1) care coordination and collaboration 2) regulations and operational standards 3) workforce readiness 4) budgeting and reimbursement systems 5) infrastructure and 6) services and ap plications. Moreover, sustainable telemedicine provision relied on four critical factors including digital literacy among the public (both service providers and recipients), demand for service provision and reception, safety, and the inclusivity of services accessible to all segments of the population. This research project provides an initial review and overview of the current system, and this information can be used to support the future monitoring and evaluation plan of telemedicine, an area which has now been included as future of healthcare.th_TH
dc.identifier.callnoWA540.JT3 ว256ก 2567
dc.identifier.contactno66-074
dc.subject.keywordDigital Healthth_TH
dc.subject.keywordโทรเวชth_TH
.custom.citationวรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย, Wanrudee Isaranuwatchai, นิธิเจน กิตติรัชกุล, Nitichen Kittiratchakool, วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร, Vilawan Luankongsomchit, สุธาสินี คำหลวง, Suthasinee Kumluang, ปภาดา ราญรอน, Papada Ranron, เบญจมพร เอี่ยมสกุล, Benjamaporn Eiamsakul, ปิยดา แก้วเขียว, Piyada Gaewkhiew, โชติกา สุวรรณพานิช, Chotika Suwanpanich, เฌอริลิณญ์ ประทุมสุวรรณ์, Sherilyn Pratumsuwan, ธนกิตติ์ อธิบดี, Thanakit Athibodee, ธนายุต เศรณีโสภณ, Thanayut Saeraneesophon, จิราธร สุตะวงศ์, Jiratorn Sutawong, ธนัยนันท์ ชวนไชยะกูล, Tanainan Chuanchaiyakul, Dabak, Saudamini Vishwanath, Prakash, Annapoorna, Chavarina, Kinanti Khansa, Myint, Aye Nandar and Liu, Sichen. "การจัดทำข้อเสนอแนะเพื่อสนับสนุนการพัฒนาแนวปฏิบัติและแนวทางการติดตามประเมินผลของระบบการแพทย์ทางไกล ผ่านการถอดบทเรียนในบริบทไทยและบริบทโลก." 2567. <a href="http://hdl.handle.net/11228/6006">http://hdl.handle.net/11228/6006</a>.
.custom.total_download36
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month2
.custom.downloaded_this_year36
.custom.downloaded_fiscal_year36

Fulltext
Icon
Name: hs3067.pdf
Size: 14.98Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record