dc.contributor.author | สุภัทรพร เทพมงคล | th_TH |
dc.contributor.author | Supatporn Tepmongkol | th_TH |
dc.contributor.author | สุขเจริญ ตั้งวงษ์ไชย | th_TH |
dc.contributor.author | Sookjaroen Tangwongchai | th_TH |
dc.contributor.author | ชาวิท ตันวีระชัยสกุล | th_TH |
dc.contributor.author | Chavit Tunvirachaisakul | th_TH |
dc.contributor.author | อภิญญ์เพ็ญ สาระยา วสันติวงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Abhinbhen W. Saraya | th_TH |
dc.contributor.author | นิจศรี ชาญณรงค์ | th_TH |
dc.contributor.author | Nijasri Charnnarong | th_TH |
dc.contributor.author | อิทธิพล ตะวันกาญจนโชติ | th_TH |
dc.contributor.author | Itthipol Tawankanjanachot | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-03-27T03:22:57Z | |
dc.date.available | 2024-03-27T03:22:57Z | |
dc.date.issued | 2567-02 | |
dc.identifier.other | hs3090 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/6033 | |
dc.description.abstract | ที่มา : การทำนายการเกิดโรคอัลไซเมอร์ในคนที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยมีหลายวิธี แต่มีความแม่นยำไม่มากนัก การใช้การตรวจ Loewenstein-Acevedo Scale for Semantic Interference and Learning (LASSI-L) พบว่า มีความไวสูงในการตรวจหาพยาธิสภาพของโรคอัลไซเมอร์ในคนที่มีภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อย วัตถุประสงค์ : เพื่อใช้การตรวจถ่ายภาพเลือดมาเลี้ยงสมองด้วยสเป็ค (Single Photon Emission Computed Tomography, SPECT) ร่วมกับ LASSI-L เพื่อเพิ่มความสามารถในการทำนายการเกิดโรคอัลไซเมอร์ให้ดียิ่งขึ้นและหาปัจจัยอื่นที่ช่วยทำนายการเกิดโรคอัลไซเมอร์ วิธีการ : ทำการตรวจสมองด้วยสเป็คในขณะพัก แล้วจึงทำการกระตุ้นสมองด้วย LASSI-L แล้วทำการตรวจสเป็คซ้ำ จากนั้นทำการเปรียบเทียบภาพถ่ายเลือดมาเลี้ยงสมอง ใน 2 สภาวะทางสถิติ ด้วยโปรแกรม Statistical Parametric Mapping (SPM) ผลการศึกษา : อาสาสมัครในโครงการ จำนวน 72 ราย มีคนปกติ จำนวน 17 ราย มีภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อย จำนวน 46 ราย และโรคอัลไซเมอร์ จำนวน 9 ราย พบมีการเพิ่มขึ้นของเลือดมาเลี้ยงสมองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value = 0.005) ที่บริเวณ Left Lateral Occipital Cortex ในกลุ่มคนที่มีภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อยที่มีผลอะไมลอยด์เพ็ทให้ผลลบเท่านั้น ในขณะที่ไม่พบการเปลี่ยนแปลงของเลือดมาเลี้ยงสมองในกลุ่มที่ผลอะไมลอยด์เพ็ทให้ผลบวกและกลุ่มอื่นๆ โดยมีความไว ร้อยละ 50 ความจำเพาะ ร้อยละ 59.38 Positive Predictive Value (PPV) ร้อยละ 35 Negative Predictive Value ร้อยละ 73.08 และไม่มีปัจจัยอื่นใดในการทำนายการเกิดโรคอัลไซเมอร์ สรุปผล : การตรวจสเป็คร่วมกับการกระตุ้นด้วย LASSI-L มีความไว และความจำเพาะไม่มากนัก อาจเป็นเพราะการเลือกชนิดของ Gold Standard และไม่มีปัจจัยอื่นใดในการทำนายการเกิดโรคอัลไซเมอร์ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Elderly | th_TH |
dc.subject | Aging | th_TH |
dc.subject | Older People | th_TH |
dc.subject | ผู้สูงอายุ | th_TH |
dc.subject | อัลไซเมอร์ | th_TH |
dc.subject | Alzheimer's Disease | th_TH |
dc.subject | Dementia | th_TH |
dc.subject | สมองเสื่อม | th_TH |
dc.subject | ภาวะสมองเสื่อม | th_TH |
dc.subject | สมองเสื่อม--การป้องกันและควบคุม | th_TH |
dc.subject | สมองเสื่อม--ในวัยชรา | th_TH |
dc.subject | การรู้คิด | th_TH |
dc.subject | เวชศาสตร์นิวเคลียร์ | th_TH |
dc.subject | ระบบบริการสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | Health Service System | th_TH |
dc.subject | ระบบบริการสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Health Care System | th_TH |
dc.subject | การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) | th_TH |
dc.title | การทำนายการเกิดโรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุโดยการตรวจถ่ายภาพเลือดมาเลี้ยงสมองทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ร่วมกับการกระตุ้นการรู้คิด | th_TH |
dc.title.alternative | Prediction of Dementia in Elderly Using Brain Perfusion SPECT with Cognitive Stress Test | th_TH |
dc.type | Technical Report | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Rationale: Many methods have been used to predict Alzheimer’s disease in mild cognitive impairment (MCI) individuals with various accuracy. Lassi-L test was found to have high sensitivity in predicting Alzheimer pathology in MCI. Aim: To use brain perfusion single photon emission computed tomography (SPECT) with Lassi-L stimulation to improve accuracy in predicting Alzheimer’s disease in MCI individuals. Method: There are 72 individuals (17 cognitively normal, 46 MCI, 9 AD). We found significant increased in perfusion at left lateral occipital cortex in an amyloid negative MCI group (p-value = 0.005) without significant cluster found in other groups. The sensitivity, specificity, PPV, and NPV are 50%, 59.38%, 35% and 73.08%, respectively. There is no demographic factor that can predict amyloid positivity. Conclusion: SPECT with Lassi-L stimulation provides rather low sensitivity and specificity, which may be due to the choice of gold standard used. There is no demographic factor that can predict Alzheimer’s pathology. | th_TH |
dc.identifier.callno | WM220 ส834ก 2567 | |
dc.identifier.contactno | 65-016 | |
.custom.citation | สุภัทรพร เทพมงคล, Supatporn Tepmongkol, สุขเจริญ ตั้งวงษ์ไชย, Sookjaroen Tangwongchai, ชาวิท ตันวีระชัยสกุล, Chavit Tunvirachaisakul, อภิญญ์เพ็ญ สาระยา วสันติวงศ์, Abhinbhen W. Saraya, นิจศรี ชาญณรงค์, Nijasri Charnnarong, อิทธิพล ตะวันกาญจนโชติ and Itthipol Tawankanjanachot. "การทำนายการเกิดโรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุโดยการตรวจถ่ายภาพเลือดมาเลี้ยงสมองทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ร่วมกับการกระตุ้นการรู้คิด." 2567. <a href="http://hdl.handle.net/11228/6033">http://hdl.handle.net/11228/6033</a>. | |
.custom.total_download | 21 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 21 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 2 | |