Show simple item record

Pharmacogenomic of Thiopurine Drugs in Childhood Acute Lymphoblastic Leukemia

dc.contributor.authorอภิชญา พวงเพ็ชร์th_TH
dc.contributor.authorApichaya Puangpetchth_TH
dc.contributor.authorสามารถ ภคกษมาth_TH
dc.contributor.authorSamart Pakakasamath_TH
dc.contributor.authorชลภัทร สุขเกษมth_TH
dc.contributor.authorChonlaphat Sukasemth_TH
dc.contributor.authorอุษณรัสมิ์ อนุรัฐพันธ์th_TH
dc.contributor.authorUsanarat Anurathapanth_TH
dc.contributor.authorการันต์ ไพสุขศาสนติวัฒนาth_TH
dc.contributor.authorKaran Paisooksantivatanath_TH
dc.contributor.authorสุภาพร วิวัฒนากุลth_TH
dc.contributor.authorSupaporn Wiwattanakulth_TH
dc.contributor.authorลลิตา สาธิตสมิตพงษ์th_TH
dc.contributor.authorLalita Sathitsamitphongth_TH
dc.contributor.authorอังคณา วินัยชาติศักดิ์th_TH
dc.contributor.authorAngkana Winaichatsakth_TH
dc.contributor.authorปิติ เตชะวิจิตร์th_TH
dc.contributor.authorPiti Techavichitth_TH
dc.contributor.authorปิยะ รุจกิจยานนท์th_TH
dc.contributor.authorPiya Rujkijyanontth_TH
dc.contributor.authorอาณัฐชัย ม้ายอุเทศth_TH
dc.contributor.authorArnatchai Maiuthedth_TH
dc.contributor.authorภัทรวิทย์ รักษ์ทองth_TH
dc.contributor.authorPattarawit Rukthongth_TH
dc.date.accessioned2024-04-10T07:06:25Z
dc.date.available2024-04-10T07:06:25Z
dc.date.issued2567-03
dc.identifier.otherhs3096
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/6049
dc.description.abstractมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน Lymphoblastic (Acute Lymphoblastic Leukemia, ALL) เป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็กที่พบบ่อยที่สุด ซึ่งได้รับการวินิจฉัยในเด็ก คิดเป็นร้อยละ 25 ของมะเร็งทั้งหมดในเด็ก การรักษาโดยทั่วไปประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ การชักนำการบรรเทาอาการ การรักษาที่เข้มข้นและการรักษาอย่างต่อเนื่องด้วยการใช้ยา 6 เมอร์แคปโตพิวรีน (Mercaptopurine, 6-MP) ซึ่งในระยะการรักษาอย่างต่อเนื่องใช้เวลา 2-3 ปี อย่างไรก็ตามการรักษาด้วยยา 6 เมอร์แคปโตพิวรีน อาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงจากการรักษาได้ เนื่องจากยาตัวนี้มีดัชนีการรักษาที่แคบและเป็นสาเหตุหลักของการหยุดการรักษา วัตถุประสงค์ของการศึกษาในครั้งนี้ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความหลากหลายทางพันธุกรรมของเอนไซม์ Thiopurine S-methyltransferase (TPMT) และ Nucleoside diphosphate-linked X-type motif 15 (NUDT15) และความเป็นพิษต่อเซลล์เม็ดเลือด ระดับเมแทบอไลท์ 6-TGN และระดับการทำงานของเอนไซม์ TPMT ในผู้ป่วยเด็กมะเร็งเม็ดเลือดขาวชาวไทย การศึกษาวิจัยนี้เก็บตัวอย่างอาสาสมัครที่เข้าร่วมโครงการวิจัยทั้งหมด จำนวน 101 คน มีข้อมูลครบ 6 visits ห่างกันทุก 1 เดือน จำนวน 84 ราย อยู่ระหว่าง follow up จำนวน 17 ราย จึงวิเคราะห์ข้อมูลจากตัวอย่าง จำนวน 84 ราย พบว่า ผู้ป่วยที่มีความผิดแผกทางพันธุกรรมของยีน NUDT15 อย่างเดียวมีแนวโน้มสัมพันธ์กับการเกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยาที่ทำให้ผู้ป่วยเกิด absolute neutrophil count grade 3-4 (p value = 0.08) นอกจากนั้น จากการติดตามการรักษาในช่วง 6 ครั้งที่ผ่านมา พบว่า ระดับการทำงานของเอนไซม์ TPMT ในกลุ่มที่มีความผิดแผกทางพันธุกรรมของยีน TPMT ร่วมกับ NUDT15 และกลุ่มผู้ป่วยที่มีความผิดแผกของยีน TPMT แต่ NUDT15 ปกติ จะต่ำลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p value = 0.0004, 0.0001 ตามลำดับ) เมื่อเทียบกับผู้ป่วยที่มีการทำงานของทั้ง 2 ยีนปกติ ซึ่งผู้ป่วยที่มีความผิดแผกทางพันธุกรรมของยีน TPMT ร่วมกับ NUDT15 จะสัมพันธ์กับการพบระดับ active metabolites 6-TGN ที่สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p value = 0.0027) เมื่อเทียบกับผู้ป่วยที่มีการทำงานของทั้ง 2 ยีนปกติ เมื่อทำการวิเคราะห์ขนาดยา 6 เมอร์แคปโตพิวรีน โดยเฉลี่ยในช่วง 6 เดือนที่ทำการรักษา พบว่า ผู้ป่วยที่มีความผิดแผกทางพันธุกรรมของยีน NUDT15 แบบ poor metabolizer จะมีขนาดยาต่ำสุด ซึ่งแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับผู้ป่วยที่ไม่มีความผิดแผกทางพันธุกรรมของ TPMT และ NUDT15 (p value = 0.05) จากผลการวิเคราะห์เบื้องต้น ผู้ป่วยที่มีความผิดแผกทางพันธุกรรมของทั้ง 2 ยีน หรือยีนใดยีนหนึ่งจะมีความเสี่ยงต่อการเกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยาได้มากขึ้น แต่ทั้งนี้ ผลการศึกษานี้เป็นผลการศึกษาเบื้องต้น หากจำนวนผู้ป่วยที่เข้าร่วมโครงการครบตามกำหนดระยะเวลาในการติดตามการรักษาผู้ป่วย จะวิเคราะห์ข้อมูลอีกครั้งเพื่อให้ผลการวิจัยน่าเชื่อถือและใกล้เคียงกับความเป็นจริงในประชากรมากที่สุดth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectยาth_TH
dc.subjectDrugsth_TH
dc.subjectมะเร็งth_TH
dc.subjectCancerth_TH
dc.subjectมะเร็งเม็ดเลือดขาวth_TH
dc.subjectLeukemiath_TH
dc.subjectเด็กth_TH
dc.subjectChildrenth_TH
dc.subjectยีนth_TH
dc.subjectGeneth_TH
dc.subjectพันธุกรรมth_TH
dc.subjectGeneticsth_TH
dc.subjectจีโนมมนุษย์th_TH
dc.subjectHuman Genometh_TH
dc.subjectพันธุศาสตร์มนุษย์th_TH
dc.subjectHuman Geneticsth_TH
dc.subjectเภสัชพันธุศาสตร์th_TH
dc.subjectPharmacogenomicsth_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleเภสัชพันธุศาสตร์ของยากลุ่ม Thiopurine ในผู้ป่วยเด็กมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดลิมโฟบลาสต์th_TH
dc.title.alternativePharmacogenomic of Thiopurine Drugs in Childhood Acute Lymphoblastic Leukemiath_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeAcute Lymphoblastic leukemia (ALL) is the most common children hematologic malignancy diagnosed in children and represents 25% of all malignancies in children. In general, treatment typically comprises 3 phases: induction of remission, intensification (or consolidation), and continuation or antimetabolite-based maintenance therapy with 6-mercaptopurine (6-MP), which is continued until 2-3 years from the time of being diagnosed. However, treatment with 6-MP-related toxicity can lead to life-threatening because of the narrow therapeutic index and is the primary cause of interruption or discontinuation of chemotherapy. The purpose of this study was to investigate the association between genetic polymorphisms of drug-metabolizing enzymes: Thiopurine S-methyltransferase (TPMT), Nucleoside diphosphate-linked moiety X-type motif 15 (NUDT15), and 6-MP related myelosuppression, active metabolites 6-TGN and TPMT enzyme activity in Thai children with ALL. This research study collected a sample of 101 volunteers participating in the research project, with complete data for six visits, one-month intervals, 84 subjects, and 17 subjects undergoing follow-up. Therefore, the data was analyzed from 84 subjects found that patients with NUDT15 genetic polymorphisms only tend to be associated with side effects of Absolute Neutrophil Count grade 3-4 (p-value = 0.08). In addition, following treatment over the past six times, we found that the activity level of TPMT enzyme in the patients with genetic polymorphisms of TPMT and NUDT15 and patients with TPMT polymorphisms only showed a statistically significantly lower TPMT activity when compared with normal genotype patients (p-value = 0.0004, 0.0001, respectively). Patients with TPMT combined with NUDT15 genetic polymorphisms were associated with significantly higher levels of the active metabolite 6-TGN (p-value = 0.0027) compared to patients without genetic polymorphisms. When the average dose of 6-mercaptopurine was analyzed over six months of treatment, it was found that patients with the poor metabolizer NUDT15 genetic polymorphisms had the lowest dose. This was statistically significantly different from patients without genetic polymorphisms in both TPMT and NUDT15 (p-value = 0.05). From the preliminary analysis results, patients with genetic polymorphisms in both or one of the genes are at greater risk of side effects from 6-mercaptopurine treatment. However, the results of this study are preliminary. Suppose the number of patients participating in the project is complete according to the treatment follow-up period. We will analyze the data again in order to make the research results reliable and as close to reality in the population as possible.th_TH
dc.identifier.callnoQV55 อ249ภ 2567
dc.identifier.contactno65-082
dc.subject.keywordThiopurineth_TH
dc.subject.keywordAcute Lymphoblastic Leukemiath_TH
dc.subject.keywordALLth_TH
dc.subject.keywordมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันth_TH
.custom.citationอภิชญา พวงเพ็ชร์, Apichaya Puangpetch, สามารถ ภคกษมา, Samart Pakakasama, ชลภัทร สุขเกษม, Chonlaphat Sukasem, อุษณรัสมิ์ อนุรัฐพันธ์, Usanarat Anurathapan, การันต์ ไพสุขศาสนติวัฒนา, Karan Paisooksantivatana, สุภาพร วิวัฒนากุล, Supaporn Wiwattanakul, ลลิตา สาธิตสมิตพงษ์, Lalita Sathitsamitphong, อังคณา วินัยชาติศักดิ์, Angkana Winaichatsak, ปิติ เตชะวิจิตร์, Piti Techavichit, ปิยะ รุจกิจยานนท์, Piya Rujkijyanont, อาณัฐชัย ม้ายอุเทศ, Arnatchai Maiuthed, ภัทรวิทย์ รักษ์ทอง and Pattarawit Rukthong. "เภสัชพันธุศาสตร์ของยากลุ่ม Thiopurine ในผู้ป่วยเด็กมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดลิมโฟบลาสต์." 2567. <a href="http://hdl.handle.net/11228/6049">http://hdl.handle.net/11228/6049</a>.
.custom.total_download10
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year10
.custom.downloaded_fiscal_year0

Fulltext
Icon
Name: hs3096.pdf
Size: 744.4Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record