dc.contributor.author | ประสิทธิ์ วุฒิสุทธิเมธาวี | th_TH |
dc.contributor.author | Prasit Wuthisuthimethawee | th_TH |
dc.contributor.author | ประกิจ สาระเทพ | th_TH |
dc.contributor.author | Prakit Sarathep | th_TH |
dc.contributor.author | ปฏิพล หอมหวล | th_TH |
dc.contributor.author | Patipon Homhual | th_TH |
dc.contributor.author | ทัศนีย์ สุนทร | th_TH |
dc.contributor.author | Thassanee Soonthon | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-06-25T02:50:16Z | |
dc.date.available | 2024-06-25T02:50:16Z | |
dc.date.issued | 2567-02 | |
dc.identifier.other | hs3129 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/6098 | |
dc.description.abstract | หลักการและเหตุผล : พื้นที่ภาคใต้มีความสำคัญด้านการท่องเที่ยว การพัฒนาระบบความปลอดภัยเป็นการส่งเสริมสุขภาพของประชาชน เพิ่มมูลค่าด้านเศรษฐกิจการท่องเที่ยว การพัฒนาต้นแบบพื้นที่ระบบความปลอดภัยทางทะเลพื้นที่เกาะเต่า เป็นการนำร่องการพัฒนาระบบระบบเพื่อประยุกต์ใช้ในพื้นที่อื่นๆ ต่อไป วัตถุประสงค์ : เพื่อพัฒนาระบบความปลอดภัยทางทะเลอย่างครบวงจรในพื้นที่เกาะเต่า อำเภอเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี วิธีการดำเนินงาน : ดำเนินกิจกรรมเป็น 3 ระยะ คือ 1) พัฒนากรอบแนวคิดระบบความปลอดภัยทางทะเลและเครื่องมือการสำรวจพื้นที่ 2) ดำเนินกิจกรรม เช่น ประชุมผู้บริหารและภาคีเครือข่าย สำรวจบริบทพื้นที่ พัฒนาสมรรถนะประชาชนและบุคลากรสาธารณสุข สำรวจสถานที่ท่องเที่ยวและซ้อมแผนตอบสนองภาวะฉุกเฉิน และ 3) การประเมินผลการจัดกิจกรรมและติดตามผลลัพธ์การปฏิบัติการฉุกเฉิน ผลการดำเนินกิจกรรม : ผลลัพธ์การดำเนินงานมีดังนี้ 1) กรอบแนวคิดระบบความปลอดภัยทางทะเล (Maritime safety Framework) 2) พัฒนาสมรรถนะประชาชนและบุคลากรสาธารณสุขในการตอบสนองภาวะฉุกเฉินและการสำรวจความเสี่ยง 3) แนวปฏิบัติการดูแลรักษาพยาบาลและการบูรณาการปฏิบัติการฉุกเฉิน บก น้ำ อากาศ 4) แผนที่บูรณาการความเสี่ยงและระบบความปลอดภัย 5) ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาระบบ และ 6) อุบัติการณ์ฉุกเฉินลดลง รวมทั้งผลการปฏิบัติการฉุกเฉินมีการพัฒนาขึ้น สรุป : การพัฒนาพื้นที่เกาะเต่าตามกรอบแนวคิดระบบความปลอดภัยทางทะเล เกิดผลลัพธ์ครอบคลุมทั้งการส่งเสริมป้องกัน การจัดการภาวะฉุกเฉินโดยชุมชน การดูแลรักษาพยาบาล การส่งต่อที่ปลอดภัยและผลลัพธ์ในการลดอุบัติการณ์ฉุกเฉินในพื้นที่และการปฏิบัติฉุกเฉินที่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น สามารถเป็นต้นแบบในการจัดระบบความปลอดภัยในพื้นที่ทางทะเลได้ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | ทะเล | th_TH |
dc.subject | ทะเล--แง่สิ่งแวดล้อม | th_TH |
dc.subject | ความปลอดภัย | th_TH |
dc.subject | การท่องเที่ยว--การประเมินความเสี่ยง | th_TH |
dc.subject | แหล่งท่องเที่ยว--การจัดการ | th_TH |
dc.subject | แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ | th_TH |
dc.subject | การขนส่งทางน้ำ | th_TH |
dc.subject | เวชศาสตร์ฉุกเฉิน | th_TH |
dc.subject | ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ | th_TH |
dc.subject | ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) | th_TH |
dc.title | การพัฒนาต้นแบบระบบความปลอดภัยทางทะเล ณ ตำบลเกาะเต่า จังหวัดสุราษฎร์ธานี | th_TH |
dc.title.alternative | Development of Maritime Safety Model at Koh’s Tao Surat Thani Province | th_TH |
dc.type | Technical Report | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Background Southern is important part for tourism. Enhancing of safety system will promote public health and tourist economy. Development of maritime safety model at Koh Toa is a pilot project which can adapt to other areas Objectives Development of maritime safety system at Koh Toa, Pha Ngan district, Surat Thani Province Methods Operation divided into 3 phases; 1) Development of maritime safety framework and survey tools, 2) Activities eg. Executive and stakeholders meeting, context’s survey, training population and healthcare providers, risks and safety survey and emergency operation exercise, and 3) Outcomes assessment which were assessed by evaluation form and emergency response audit Results Main results were 1) Maritime Safety Framework, 2) Population and healthcare providers capability for emergency response and risk survey, 3) Integration of emergency medical service protocols (ground, sea, air), 4) Risks and safety integrated map, 5) Recommendations for executives for system development, and 6) marine incident was decreased and emergency response were improved. Conclusion Development of safety system at Koh Toa following maritime safety framework improved results in prevention and health promotion, community-based emergency response, and emergency care with safe transfer, and resulting in decreasing marine incident and improved emergency operation. The model can apply for system development in other areas. | th_TH |
dc.identifier.callno | WA754 ป413ก 2567 | |
dc.identifier.contactno | 66-093 | |
dc.subject.keyword | ความปลอดภัยทางทะเล | th_TH |
dc.subject.keyword | Maritime Safety | th_TH |
.custom.citation | ประสิทธิ์ วุฒิสุทธิเมธาวี, Prasit Wuthisuthimethawee, ประกิจ สาระเทพ, Prakit Sarathep, ปฏิพล หอมหวล, Patipon Homhual, ทัศนีย์ สุนทร and Thassanee Soonthon. "การพัฒนาต้นแบบระบบความปลอดภัยทางทะเล ณ ตำบลเกาะเต่า จังหวัดสุราษฎร์ธานี." 2567. <a href="http://hdl.handle.net/11228/6098">http://hdl.handle.net/11228/6098</a>. | |
.custom.total_download | 9 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 1 | |
.custom.downloaded_this_year | 9 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 3 | |