แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อตอบสนองต่อระบบบริการสุขภาพจิตวิถีใหม่

dc.contributor.authorฐิติพร สุแก้วth_TH
dc.contributor.authorThitiporn Sukaewth_TH
dc.contributor.authorนพพร ตันติรังสีth_TH
dc.contributor.authorNopporn Tantirangseeth_TH
dc.contributor.authorพยงค์ เทพอักษรth_TH
dc.contributor.authorPhayong Thepaksornth_TH
dc.contributor.authorภัทรหทัย ณ ลำพูนth_TH
dc.contributor.authorPathathai Na Lumpoonth_TH
dc.contributor.authorนภชา สิงห์วีรธรรมth_TH
dc.contributor.authorNoppcha Singwerathamth_TH
dc.contributor.authorเยาวลักษณ์ มีบุญมากth_TH
dc.contributor.authorYaowaluck Meebunmakth_TH
dc.contributor.authorวันดี แสงเจริญth_TH
dc.contributor.authorWandee Saengjarernth_TH
dc.contributor.authorสันติ ประไพเมืองth_TH
dc.contributor.authorSunti Prapaimuangth_TH
dc.contributor.authorกีรติ พลเพชรth_TH
dc.contributor.authorKeerati Ponpetchth_TH
dc.contributor.authorเพ็ญนภา กวีวงศ์ประเสริฐth_TH
dc.contributor.authorPennapa Kaweewongprasertth_TH
dc.contributor.authorดาวรุ่ง คำวงศ์th_TH
dc.contributor.authorDaoroong Komwongth_TH
dc.contributor.authorอลิซาเบธ เคลลี่ ฮอม เทพอักษรth_TH
dc.contributor.authorElizabeth Kelly Hom Thepaksornth_TH
dc.contributor.authorนิสารัตน์ สงประเสริฐth_TH
dc.contributor.authorNisarat Songprasirtth_TH
dc.contributor.authorรวิษฎา บัวอินทร์th_TH
dc.contributor.authorRawisada Buainth_TH
dc.date.accessioned2024-06-25T03:43:45Z
dc.date.available2024-06-25T03:43:45Z
dc.date.issued2567-06
dc.identifier.otherhs3134
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/6101
dc.description.abstractความเป็นมาและเหตุผล : การเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ของปัจจัยกำหนดสุขภาพจิตในช่วง “ความไม่ปกติใหม่ (New Abnormal)” ส่งผลให้ต้องมีการต้องประเมินสถานการณ์ระบบข้อมูลสุขภาพจิตและนวัตกรรมทางเลือกที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อใช้ประโยชน์ในการกำกับติดตามผลกระทบต่อสุขภาพจิตประชากรโดยเฉพาะในสภาวะฉุกเฉิน ระเบียบวิธีการศึกษา : การศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อประเมินการดำเนินงานตามนโยบายคัดกรองและส่งต่อผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่ออกแบบโดยกรมสุขภาพจิต แนวปฏิบัติของ The Consolidated Framework of Implementation Research (CFIR) เพื่อระบุปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินกิจกรรมตามแนวปฏิบัติของนโยบาย โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกและสนทนากลุ่มผู้มีส่วนได้เสียต่อสถานะข้อมูลโรคซึมเศร้า (n= 194) และยืนยันประเด็นข้อค้นพบด้วยแบบสอบถามออนไลน์ จำนวนกลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยกลุ่มประชากรทั่วไป (n=301) กลุ่มผู้ปฏิบัติงานตามนโยบาย (n= 281) กระบวนการจัดทำข้อเสนอแนะทางนโยบายประกอบด้วยกระบวนการทบทวนขอบเขตงานวิจัย เพื่อสังเคราะห์องค์ความรู้ด้านประสบการณ์ใช้นวัตกรรมดิจิทัลในประเด็นสุขภาพจิตในประเทศกลุ่มรายได้น้อยถึงปานกลาง ข้อมูลจากการรับฟังความคิดเห็นจะถูกนำมาประกอบใช้พัฒนาต้นแบบฐานข้อมูลตามกรอบแนวคิดของ Nested Model โมเดลซ้อนทับสำหรับการออกแบบการสร้างภาพ (Visualization) ผลการศึกษา : ปัจจัยด้านความเข้มแข็งของชุมชน การกำหนดใช้ผลการดำเนินงานเป็นตัวชี้วัดการตรวจราชการและการให้ความสำคัญของผู้นำในทุกระดับเป็นปัจจัยกำหนดความสำเร็จของกิจกรรมให้บริการสุขภาพจิตและการมีข้อมูลเพื่อใช้ประโยชน์อย่างต่อเนื่อง ในณะที่ความต้องการของผู้ใช้บริการที่ยังไม่ได้รับการตอบสนอง การขาดทรัพยากรดำเนินงานและการเปลี่ยนแปลงนโยบายของผู้นำในอนาคตอาจส่งผลต่อความต่อเนื่องของข้อมูลสุขภาพจิตในอนาคต เพื่อให้เกิดการลงทุนที่ยั่งยืน ภาครัฐต้องลงทุนเพื่อพัฒนาโครงสร้างฐานข้อมูลสุขภาพเพื่อเชื่อมข้อมูลอย่างไร้รอยต่อควบคู่กับทักษะผู้ปฏิบัติงานเพื่อใช้ประโยชน์ของฐานข้อมูลอย่างเต็มศักยภาพ สรุปผลการศึกษา : ปัจจัยกำหนดสุขภาพจิตและแบบแผนการใช้ชีวิตประชาชนที่เปลี่ยนไปส่งผลต่อความจำเป็นในการประเมินการดำเนินงานตามนโยบายคัดกรองอย่างต่อเนื่อง เพื่อปรับตัวชี้วัดการดำเนินงานและนโยบายส่งเสริมและรักษาสุขภาพจิตประชากรโดยไม่ทิ้งประชากรกลุ่มใดไว้ข้างหลังth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectสุขภาพจิตth_TH
dc.subjectMental Healthth_TH
dc.subjectสุขภาพจิต, การบริการth_TH
dc.subjectMental Health Servicesth_TH
dc.subjectDepressionth_TH
dc.subjectความซึมเศร้าth_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศth_TH
dc.subjectHealth Information Systemsth_TH
dc.subjectระบบฐานข้อมูลth_TH
dc.subjectระบบข้อมูลสุขภาพth_TH
dc.subjectสารสนเทศทางการแพทย์th_TH
dc.subjectDatabase Systemsth_TH
dc.subjectData Analysisth_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems)th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อตอบสนองต่อระบบบริการสุขภาพจิตวิถีใหม่th_TH
dc.title.alternativePolicy Recommendations for Developing a Health Information System for Mental Health Services in the New Normalth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeIntroduction: The changing landscape of mental health determinants during the “new abnormal” period necessitates an evaluation of mental health data systems and relevant alternative innovations. This assessment aims to enhance information systems for monitoring the impact on population mental health, especially during emergency situations. Method: This study evaluates the implementation of depression screening policies designed by the Department of Mental Health. A total of 194 stakeholders involved in mental health data were engaged in in-depth interviews and group discussions. This was complemented with online surveys that targeted the public (n=301) and policy implementers (n=281). The policy recommendations process involves a review of research findings related to digital innovation experiences in mental health within low- to middle income countries. Stakeholder feedback informs the development of a foundational database model based on the Nested model for visualization. Results: The resilience of communities, the use of operational performance indicators for inspections, and the importance of leadership at all levels are critical factors determining the success of mental health service delivery and continuous data utilization. Challenges such as unmet service user needs, resource constraints, and potential future policy changes may impact the continuity of mental health information. To ensure sustainable investment, the government must invest in developing robust health database infrastructure that seamlessly integrates data with workforce skills, maximizing the database’s full potential. Conclusions: To achieve sustainable investments, the government should develop robust health database infrastructure, seamlessly integrating data with workforce skills. This ensures the full potential of mental health databases is realized.th_TH
dc.identifier.callnoWM171.5 ฐ341ข 2567
dc.identifier.contactno66-038
dc.subject.keywordNew Normalth_TH
dc.subject.keywordความปรกติใหม่th_TH
dc.subject.keywordฐานวิถีชีวิตใหม่th_TH
.custom.citationฐิติพร สุแก้ว, Thitiporn Sukaew, นพพร ตันติรังสี, Nopporn Tantirangsee, พยงค์ เทพอักษร, Phayong Thepaksorn, ภัทรหทัย ณ ลำพูน, Pathathai Na Lumpoon, นภชา สิงห์วีรธรรม, Noppcha Singweratham, เยาวลักษณ์ มีบุญมาก, Yaowaluck Meebunmak, วันดี แสงเจริญ, Wandee Saengjarern, สันติ ประไพเมือง, Sunti Prapaimuang, กีรติ พลเพชร, Keerati Ponpetch, เพ็ญนภา กวีวงศ์ประเสริฐ, Pennapa Kaweewongprasert, ดาวรุ่ง คำวงศ์, Daoroong Komwong, อลิซาเบธ เคลลี่ ฮอม เทพอักษร, Elizabeth Kelly Hom Thepaksorn, นิสารัตน์ สงประเสริฐ, Nisarat Songprasirt, รวิษฎา บัวอินทร์ and Rawisada Buain. "ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อตอบสนองต่อระบบบริการสุขภาพจิตวิถีใหม่." 2567. <a href="http://hdl.handle.net/11228/6101">http://hdl.handle.net/11228/6101</a>.
.custom.total_download30
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month2
.custom.downloaded_this_year30
.custom.downloaded_fiscal_year2

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs3134.pdf
ขนาด: 7.184Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย