dc.contributor.author | อุดม ทุมโฆสิต | th_TH |
dc.contributor.author | Udom Tumkosit | th_TH |
dc.contributor.author | วีระวัฒน์ ปันนิตามัย | th_TH |
dc.contributor.author | Werawat Punnitamai | th_TH |
dc.contributor.author | สุรชัย พรหมพันธุ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Surachai Phromphan | th_TH |
dc.contributor.author | สุพัฒน์จิตร ลาดบัวขาว | th_TH |
dc.contributor.author | Supatjit Ladbuakhao | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-08-01T03:40:31Z | |
dc.date.available | 2024-08-01T03:40:31Z | |
dc.date.issued | 2567-06 | |
dc.identifier.other | hs3150 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/6130 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประเมินผลด้านการจัดการบุคคลและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ที่ได้รับการถ่ายโอนจากกระทรวงสาธารณสุขไปสู่องค์การบริหารส่วนจังหวัด โดยมุ่งเน้น 1) ผลการเปลี่ยนแปลงด้านกำลังคน อันเนื่องมาจากการถ่ายโอน 2) สถานะปัญหาความขาดแคลนกำลังคน ทักษะความสามารถ และขวัญกำลังใจของกำลังคน 3) ปัญหาอุปสรรค หรือจุดแข็งจุดอ่อนของระบบการจัดการและการพัฒนากำลังคน และ 4) แนวทางพัฒนากำลังคน ในการนี้คณะวิจัยได้เลือกใช้รูปแบบการวิจัยประเมินผลเป็นวิธีวิทยาการประเมิน โดยได้ทบทวนวรรณกรรมและกำหนดกรอบแนวคิดการวิจัยประเมินผลขึ้นในรูปแบบโจทย์คำถามเพื่อเป็นแนวทางในการแสวงหาคำตอบ 9 ข้อ ในด้านวิธีวิทยาการวิจัยได้เลือกใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสาน ในขั้นตอนแรกใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลโดยการสำรวจข้อมูลเชิงคุณภาพมาทำการวิเคราะห์ ตีความเพื่อตอบโจทย์การวิจัย จาก รพ.สต. 32 แห่ง 8 จังหวัด 4 ภาค ขั้นตอนที่สอง ใช้วิธีวิจัยเชิงปริมาณโดยนำผลการวิจัยขั้นตอนแรกมาถอดประเด็นสำคัญแล้วมาตรวจสอบความเป็นทั่วไปและยืนยันผลด้วยการวิจัยเชิงปริมาณโดยประชากร 3,263 แห่ง 49 จังหวัด ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ผลการประเมินพบว่า 1) การเปลี่ยนแปลงด้านจำนวนกำลังคน สรุปได้ว่า หลังการถ่ายโอนได้มีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีกว่าเดิม กล่าวคือ มีจำนวนกำลังคนเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 0.74 คนต่อ รพ.สต. 2) สถานะปัญหาความขาดแคลนกำลังคน ทักษะความสามารถ และขวัญกำลังใจของกำลังคน พบว่า สถานะ (1) ด้านจำนวนกำลังคงของ รพ.สต. ยังขาดแคลนเมื่อเปรียบเทียบกับกรอบมาตรฐานกำลังคนทั้ง 8 ประเภทบุคลากร (2) ด้านทักษะความสามารถของกำลังคน พบว่า กำลังคนของ รพ.สต. ยังขาดทักษะอย่างมากในบริการด้านรักษาพยาบาล และ (3) ในด้านกำลังใจ พบว่า มีขวัญกำลังใจดีขึ้นกว่าก่อนการถ่ายโอน เนื่องจากได้เห็นบันไดความก้าวหน้าของบุคลากรดีขึ้นกว่าเดิม 3) ปัญหาอุปสรรคสำคัญคือ ปัญหาการขาดแคลนกำลังคนและคุณภาพกำลังคนเมื่อเปรียบเทียบกับกรอบมาตรฐานกำลังคน และกรอบมาตรฐานคุณภาพบริการ รพ.สต. ติดดาว ยังผลให้ประชาชนในเขตบริการยังไม่ได้รับบริการสุขภาพที่ดีพอตามเป้าหมาย 4) แนวทางพัฒนากำลังคน รัฐมีความจำเป็นต้องพัฒนากำลังคนของ รพ.สต. ทั้งทางด้านปริมาณและคุณภาพให้บรรลุตามกรอบมาตรฐานดังกล่าวโดยด่วน คือ (1) เร่งผลิตกำลังคนให้เพียงพอแก่ความจำเป็น (2) พัฒนาทักษะความสามารถกำลังคนให้มีสมรรถนะสูงและทันสมัยอยู่เสมอ (3) สร้างขวัญกำลังใจบุคลากรให้มีความกระตือรือร้นและภาคภูมิใจในงานที่ทำ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล | th_TH |
dc.subject | องค์การบริหารส่วนจังหวัด | th_TH |
dc.subject | Health Policy | th_TH |
dc.subject | นโยบายสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | การบริหารสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Public Health Administration | th_TH |
dc.subject | การกระจายอำนาจด้านสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | Primary Health Care | th_TH |
dc.subject | บริการปฐมภูมิ (การแพทย์) | th_TH |
dc.subject | Primary Care (Medicine) | th_TH |
dc.subject | ระบบบริการสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | Health Service System | th_TH |
dc.subject | ระบบบริการสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Health Care System | th_TH |
dc.subject | การประเมินผล | th_TH |
dc.subject | Evaluation | th_TH |
dc.subject | Measurement | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.subject | บุคลากรทางการแพทย์ | th_TH |
dc.subject | Medical Personnel | th_TH |
dc.subject | Health Manpower | th_TH |
dc.subject | Health Worker | th_TH |
dc.subject | Health Workforce | th_TH |
dc.title | การวิจัยประเมินผลนโยบายการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปสู่องค์การบริหารส่วนจังหวัด ส่วนที่ 3 : โครงการวิจัยย่อยที่ 2 การจัดการกำลังคนและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของ รพ.สต. ที่ถ่ายโอนในปีงบประมาณ 2566 | th_TH |
dc.title.alternative | The Policy Evaluative Research Project on the Transference of Tambol-Promotion-Hospitals to Provincial Administration Organization Part 3 : Research Sub-Project No.2 Manpower Management and Human Resource Development of Subdistrict Health Promotion Hospitals Transferred in Fiscal Year 2023 | th_TH |
dc.type | Technical Report | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research is to study and evaluate personnel management and
human resource development of the Subdistrict Health Promoting Hospital, that has been
transferred from the Ministry of Public Health to the Provincial Administrative Organization.
focusing on 1) the results of manpower changes due to the transfer 2) Status of manpower
shortage problem low skills and low morale of the workforce; 3 ) problems, obstacles, or
strengths and weaknesses of the management system and workforce development; and 4)
guidelines for workforce development. For this purpose, the research team has chosen to
use the evaluation research model as the evaluation methodology. The literature was
reviewed and the evaluation research concept was formulated in the form of questions to
serve as a guideline for seeking answers to 9 questions in terms of research questions. A
mixed research method was chosen. In the first step, qualitative research was used. Data
were collected by surveying qualitative data for analysis. Interpret to answer research
questions from 3 2 Subdistrict Health Promotion Hospitals, 8 provinces, 4 regions. In the
second step, quantitative research methods used by taking the results of the first stage of
research to extract important points and then checking for generality and confirming the
results with quantitative research by the population of 3,263 places in 49 provinces at a
confidence level of 95 percent.
The results of the evaluation found that 1) Changes in the number of manpower.
Can be concluded that, after the transfer there has been a change for the better than
before, that is, there has been an average increase in the number of manpower of 0.74
people per Subdistrict Health Promotion Hospital.
2) Status of manpower shortage problem skills and the morale of the workforce. It
was found that the status (a) In terms of the number of personnel in the Subdistrict Health
Promotion Hospital, it is still lacking when compared to the standard workforce for manpower
for all 8 types of personnel. (b) Regarding the skills and abilities of the workforce, it was
found that the workforce of the Subdistrict Health Promotion Hospital still lacks skills in
providing medical services and (c) In terms of morale, it was found that morale was better
than before the transfer. Because we saw that the personnel advancement ladder was
better than before.
3) The main obstacles are Problems of manpower shortage and manpower quality
when compared to the manpower standard workforce and the service quality standards
workforce for the Subdistrict Health Promoting Hospitals being rated as stars also results in
people in the service area still not receiving health services that are good enough as
targeted.
4) Human resource development guidelines The government urgently needs to
develop the manpower of Subdistrict Health Promotion Hospitals in both quantity and
quality to meet the aforementioned standard workforce, namely (a) hastening the production of
manpower sufficient to meet the needs; (b) Develop the skills and abilities of manpower to
be highly efficient and always up-to-date. (c) Build the morale of personnel to be
enthusiastic and proud of the work they do. | th_TH |
dc.identifier.callno | WA540.JT3 อ785ก 2567 | |
dc.identifier.contactno | 65-133 | |
dc.subject.keyword | Health Decentralize | th_TH |
dc.subject.keyword | Health Decentralization | th_TH |
dc.subject.keyword | การกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject.keyword | อบจ. | th_TH |
dc.subject.keyword | รพ.สต. | th_TH |
.custom.citation | อุดม ทุมโฆสิต, Udom Tumkosit, วีระวัฒน์ ปันนิตามัย, Werawat Punnitamai, สุรชัย พรหมพันธุ์, Surachai Phromphan, สุพัฒน์จิตร ลาดบัวขาว and Supatjit Ladbuakhao. "การวิจัยประเมินผลนโยบายการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปสู่องค์การบริหารส่วนจังหวัด ส่วนที่ 3 : โครงการวิจัยย่อยที่ 2 การจัดการกำลังคนและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของ รพ.สต. ที่ถ่ายโอนในปีงบประมาณ 2566." 2567. <a href="http://hdl.handle.net/11228/6130">http://hdl.handle.net/11228/6130</a>. | |
.custom.total_download | 62 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 4 | |
.custom.downloaded_this_year | 62 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 11 | |