แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การวิจัยประเมินผลนโยบายการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปสู่องค์การบริหารส่วนจังหวัด ส่วนที่ 3 : โครงการวิจัยย่อยที่ 1 การจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

dc.contributor.authorอุดม ทุมโฆสิตth_TH
dc.contributor.authorUdom Tumkositth_TH
dc.contributor.authorหลี่, เหรินเหลียงth_TH
dc.contributor.authorLi, Renliangth_TH
dc.contributor.authorรติพร ถึงฝั่งth_TH
dc.contributor.authorRatiporn Teungfungth_TH
dc.contributor.authorจิรวัฒน์ ศรีเรืองth_TH
dc.contributor.authorJirawat Sriruangth_TH
dc.date.accessioned2024-08-01T04:01:36Z
dc.date.available2024-08-01T04:01:36Z
dc.date.issued2567-06
dc.identifier.otherhs3149
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/6131
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการให้บริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ที่ได้รับการถ่ายโอนจากกระทรวงสาธารณสุขไปสู่องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ในรุ่นรอบปีงบประมาณ 2566 โดยต้องการทราบว่าหลังการถ่ายโอนแล้ว (1) รูปแบบบริการเปลี่ยนไปหรือไม่ (2) ผลผลิตบริการดีขึ้นหรือแย่ลง (3) มีจุดแข็งจุดอ่อนสำคัญอะไรบ้าง และ (4) ควรพัฒนาต่อไปอย่างไร ในด้านกรอบแนวคิดการวิจัย ได้ใช้กรอบบริการตามมาตรฐาน รพ.สต. ติดดาว เป็นประเด็นเนื้อหาในการประเมิน โดยได้ถอดวัตถุประสงค์การวิจัยออกมาเป็นโจทย์คำถาม 13 ข้อ ในการแสวงหาคำตอบ สำหรับวิธีวิทยาการวิจัยได้ใช้รูปแบบการวิจัยแบบผสมผสาน ผลการค้นพบสรุปได้ว่า (1) หลังการถ่ายโอน รพ.สต. ไปแล้ว รูปแบบบริการยังเหมือนเดิม คือ ยังยึดหลักการตัวแบบ รพ.สต. ติดดาว (2) ผลผลิตบริการส่วนใหญ่ยังคงเหมือนเดิม แต่ส่วนน้อยมีแนวโน้มดีขึ้นเล็กน้อยเนื่องจากมีเงินและคนเพิ่มขึ้น (3) จุดแข็งสำคัญของการบริการ ได้แก่ การมีสายการบังคับบัญชาสั้นลง และมีการมอบอำนาจเพิ่มขึ้น ทำให้มีความเป็นอิสระคล่องตัวในการทำงานมากขึ้น (4) จุดอ่อนสำคัญ คือ การขาดทรัพยากรจำเป็นอีกมากเมื่อเปรียบเทียบกับความจำเป็นในด้านปริมาณและคุณภาพบริการของประชาชน เช่น ขาดคน เงิน ยา ครุภัณฑ์ เทคโนโลยี เป็นต้น (5) สำหรับแนวทางพัฒนาต่อไป คือ ควรให้ความสำคัญต่อบริการสร้างสุขภาพให้มากขึ้น เพื่อให้ประชาชนสามารถดูแลตนเองได้ดีขึ้น โดยต้องจัดการด้านทรัพยากรนำเข้าให้มั่นคงและเพียงพอด้วยth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนจังหวัดth_TH
dc.subjectHealth Policyth_TH
dc.subjectนโยบายสาธารณสุขth_TH
dc.subjectการบริหารสาธารณสุขth_TH
dc.subjectPublic Health Administrationth_TH
dc.subjectการกระจายอำนาจด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectระบบสุขภาพปฐมภูมิth_TH
dc.subjectPrimary Health Careth_TH
dc.subjectบริการปฐมภูมิ (การแพทย์)th_TH
dc.subjectPrimary Care (Medicine)th_TH
dc.subjectระบบบริการสุขภาพth_TH
dc.subjectHealth Service Systemth_TH
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Care Systemth_TH
dc.subjectการประเมินผลth_TH
dc.subjectEvaluationth_TH
dc.subjectMeasurementth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการวิจัยประเมินผลนโยบายการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปสู่องค์การบริหารส่วนจังหวัด ส่วนที่ 3 : โครงการวิจัยย่อยที่ 1 การจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลth_TH
dc.title.alternativeThe Policy Evaluative Research Project on the Transference of Tambol-Promotion-Hospitals to Provincial Administration Organization Part 3 : Research Sub-Project No.1 Primary Health Service Provision of Subdistrict Promotion Hospitals to Provincial Administrationth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims to evaluate the services of Tambol-Promotion-Hospitals to Provincial Administration that have been transferred from the Ministry of Public Health to Provincial Administrative Organizations in the fiscal year 2023. We want to know that after the transfer (1) the service format Has it changed or not? (2) Is the service output better or worse? (3) What are the main strengths and weaknesses? and (4) How should it be developed further? In terms of research concepts The service framework according to the 5 Stars All Health Promoting Hospital standards was used as the content issue for the evaluation. The research objectives were extracted into 13 questions in search of answers. For the research methodology, a mixed research design was used. The findings conclude that (1) after the transfer of the Subdistrict Health Promotion Hospital, the service model remains the same, that is, it still adheres to the principles of the 5 Stars All Health Promoting Hospital model. (2) Most of the service output remains the same. But some tend to improve slightly as they have more money and more people. (3) The service's key strengths include having a shorter chain of command. and increased authority was given This makes them more independent and flexible in their work. (4) The main weakness is the lack of necessary resources when compared to the needs of the quantity and quality of services of the people, such as lack of people, money, medicine, equipment, technology, etc. (5) For development guidelines Next, we should give more importance to health-building services. So that people can take better care of themselves. The imported resources must be managed to be stable and adequate.th_TH
dc.identifier.callnoWA540.JT3 อ785ก 2567
dc.identifier.contactno65-133
dc.subject.keywordHealth Decentralizeth_TH
dc.subject.keywordHealth Decentralizationth_TH
dc.subject.keywordการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขth_TH
dc.subject.keywordอบจ.th_TH
dc.subject.keywordรพ.สต.th_TH
.custom.citationอุดม ทุมโฆสิต, Udom Tumkosit, หลี่, เหรินเหลียง, Li, Renliang, รติพร ถึงฝั่ง, Ratiporn Teungfung, จิรวัฒน์ ศรีเรือง and Jirawat Sriruang. "การวิจัยประเมินผลนโยบายการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปสู่องค์การบริหารส่วนจังหวัด ส่วนที่ 3 : โครงการวิจัยย่อยที่ 1 การจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล." 2567. <a href="http://hdl.handle.net/11228/6131">http://hdl.handle.net/11228/6131</a>.
.custom.total_download92
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month8
.custom.downloaded_this_year92
.custom.downloaded_fiscal_year12

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs3149.pdf
ขนาด: 2.486Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย