แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

สภาวะสุขภาพช่องปากและประสบการณ์การใช้บริการทันตกรรมของคนไร้บ้านในประเทศไทย การศึกษาภาคตัดขวางจากสมาชิกโครงการจ้างวานข้า

dc.contributor.authorวรารัตน์ ใจชื่นth_TH
dc.contributor.authorWararat Jaichuenth_TH
dc.contributor.authorพูลพฤกษ์ โสภารัตน์th_TH
dc.contributor.authorPoolpruek Soparatth_TH
dc.date.accessioned2024-09-30T04:23:56Z
dc.date.available2024-09-30T04:23:56Z
dc.date.issued2567-09
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 18,3 (ก.ค. - ก.ย. 2567) : 427-437th_TH
dc.identifier.issn2672-9415
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/6162
dc.description.abstractบทความพิเศษชิ้นนี้เป็นการแสดงหลักฐานเชิงประจักษ์ชิ้นแรกเกี่ยวกับสภาวะสุขภาพช่องปากและประสบการณ์การใช้บริการทันตกรรมของคนไร้บ้านในประเทศไทย โดยอาศัยข้อมูลจากกิจกรรมการออกให้บริการทางการแพทย์และทันตกรรมเป็นกรณีพิเศษให้กับสมาชิกของโครงการจ้างวานข้าซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ซึ่งมีสมาชิก ณ ช่วงเวลานั้น 140 คน สมัครใจให้การสัมภาษณ์ 130 คน สมัครใจรับการตรวจช่องปาก 122 คน ในจำนวนนี้พบว่าเป็นผู้ที่มีความจำเป็นต้องการรับบริการ (ไม่รวมฟันปลอม) 115 คน และได้รับบริการทันตกรรมอย่างง่ายตามความจำเป็นในวันที่จัดกิจกรรมรวม 90 คน มีความจำเป็นต้องรับบริการทันตกรรมแต่ปฏิเสธการรักษา 24 คน มีความจำเป็นต้องรับบริการทันตกรรมแต่ยังไม่ได้รับการรักษา เนื่องจากเป็นเบาหวานที่ยังไม่ได้รับการควบคุมสภาวะโรค 1 คน บทความนี้วิเคราะห์ข้อมูลเฉพาะผู้ที่สมัครใจให้การสัมภาษณ์และตรวจช่องปาก รวม 98 คน ซึ่งผลการศึกษายืนยันว่าประชากรกลุ่มนี้มีปัญหาทางทันตกรรมที่รุนแรงมากกว่าประชากรทั่วไป และมีความต้องการรับบริการทันตกรรมที่ไม่ได้รับการตอบสนองสูงกว่าประชากรทั่วไป ข้อมูลรายการบริการทันตกรรมที่ไม่ได้รับการตอบสนองนี้ปรากฏอยู่ในชุดสิทธิประโยชน์ของระบบหลักประกันสุขภาพทั้งสามระบบอยู่แล้ว การไม่ได้รับรู้สิทธิที่มีน่าจะเป็นอุปสรรคสำคัญในการเข้าไม่ถึงบริการทันตกรรมของคนไร้บ้าน การสร้างเสริมให้คนไร้บ้านรับรู้และตระหนักในสิทธิที่มีจึงเป็นกลวิธีที่ควรดำเนินการเป็นอันดับแรก และควรมีการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อให้ได้ข้อมูลจากมุมมองของผู้ป่วยต่ออุปสรรคและปัจจัยเอื้อต่อการเข้าถึงบริการทันตกรรม เพื่อใช้ในการวางแผนระบบบริการทันตกรรมในอนาคตที่จะมั่นใจได้ว่าไม่มีใครที่ถูกทิ้งไว้ข้างหลังth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectคนไร้ที่อยู่อาศัยth_TH
dc.subjectHomeless Personsth_TH
dc.subjectVulnerable Groupth_TH
dc.subjectVulnerable Populationsth_TH
dc.subjectสุขภาพช่องปากth_TH
dc.subjectDental Serviceth_TH
dc.subjectทันตกรรมth_TH
dc.titleสภาวะสุขภาพช่องปากและประสบการณ์การใช้บริการทันตกรรมของคนไร้บ้านในประเทศไทย การศึกษาภาคตัดขวางจากสมาชิกโครงการจ้างวานข้าth_TH
dc.title.alternativeOral Health Status and Self-Report Dental Service Utilization Experience among Homeless People in Thailand: A Cross-Sectional Study in Members of Work from Homeless Projectth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThis special article provides the first empirical evidence on the oral health conditions and dental service experiences among homeless people in Thailand, based on information from the volunteer spirit activities on medical and dental services to members of the social enterprise project “Work from Homeless”. On May 20, 2023, a total of 140 project members were most older persons, 130 voluntarily joined the interview, 122 had oral examination, 115 were in dental treatment needs (not including dentures). A total of 90 people received simple dental services as needed on the day of the activity, 24 refused treatment, and 1 person received no dental treatment due to uncontrolled diabetes. Only 98 people who agreed to be interviewed and examined were presented. The results confirm severe dental problems and higher unmet dental service needs among these homeless people than the general population, despite this list of unmet dental services has already been included in the benefit packages of all three health insurance systems. Not being aware of their health rights is likely to be a major barrier for homeless people in accessing to dental services. Creating awareness among homeless people of their rights should therefore be the first strategy to be implemented. Additional patient perspectives on barriers and enablers to dental care access are required for future planning of the dental service system to ensure that no one is left behind.th_TH
dc.subject.keywordคนไร้บ้านth_TH
dc.subject.keywordประชากรกลุ่มเปราะบางth_TH
dc.subject.keywordประชากรกลุ่มเฉพาะth_TH
.custom.citationวรารัตน์ ใจชื่น, Wararat Jaichuen, พูลพฤกษ์ โสภารัตน์ and Poolpruek Soparat. "สภาวะสุขภาพช่องปากและประสบการณ์การใช้บริการทันตกรรมของคนไร้บ้านในประเทศไทย การศึกษาภาคตัดขวางจากสมาชิกโครงการจ้างวานข้า." 2567. <a href="http://hdl.handle.net/11228/6162">http://hdl.handle.net/11228/6162</a>.
.custom.total_download101
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month37
.custom.downloaded_this_year101
.custom.downloaded_fiscal_year97

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v18n ...
ขนาด: 260.2Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย