แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การศึกษาและพัฒนากลไกความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่ออภิบาลระบบสุขภาพท้องถิ่นภายใต้บริบทการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด

dc.contributor.authorปรีดา แต้อารักษ์th_TH
dc.contributor.authorPreeda Taearakth_TH
dc.contributor.authorวีระศักดิ์ เครือเทพth_TH
dc.contributor.authorWeerasak Krueathepth_TH
dc.contributor.authorวิรุฬ ลิ้มสวาทth_TH
dc.contributor.authorWirun Limsawartth_TH
dc.contributor.authorพีธากร ศรีบุตรวงษ์th_TH
dc.contributor.authorPeethakorn Sribhudwongth_TH
dc.contributor.authorศักดิ์ชัย กาญจนวัฒนาth_TH
dc.contributor.authorSakchai Kanjanawatanath_TH
dc.contributor.authorปรานอม โอสารth_TH
dc.contributor.authorPranom Aosanth_TH
dc.contributor.authorศดานนท์ วัตตธรรมth_TH
dc.contributor.authorSadanon Wattathamth_TH
dc.contributor.authorศิริศักดิ์ เหล่าจันขามth_TH
dc.contributor.authorSirisak Laochankhamth_TH
dc.contributor.authorเฉลิมพร วรพันธกิจth_TH
dc.contributor.authorChalermphorn Worraphantakitth_TH
dc.contributor.authorไกรวุฒิ ใจคําปันth_TH
dc.contributor.authorKraiwuth Jaikampanth_TH
dc.contributor.authorธวัชชัย เอกสันติth_TH
dc.contributor.authorThawatchai Aeksantith_TH
dc.contributor.authorดารินทร์ กําแพงเพชรth_TH
dc.contributor.authorDarin Kamphaengphetth_TH
dc.contributor.authorศักดิ์ณรงค์ มงคลth_TH
dc.contributor.authorSaknarong Mongkolth_TH
dc.contributor.authorโกเมนทร์ ทิวทองth_TH
dc.contributor.authorKomain Tewtongth_TH
dc.contributor.authorภัชร์จิรัสม์ ธัชเมฆรัตน์th_TH
dc.contributor.authorPachjirat Thachmakeratth_TH
dc.contributor.authorศุมล ศรีสุขวัฒนาth_TH
dc.contributor.authorSoomol Srisookwatanath_TH
dc.contributor.authorจารึก ไชยรักษ์th_TH
dc.contributor.authorJaruek Chairakth_TH
dc.contributor.authorวีรบูรณ์ วิสารทสกุลth_TH
dc.contributor.authorWeeraboon Wisartsakulth_TH
dc.contributor.authorจักรินทร์ สีมาth_TH
dc.contributor.authorJakkarin Seemath_TH
dc.date.accessioned2025-01-27T04:36:36Z
dc.date.available2025-01-27T04:36:36Z
dc.date.issued2567-12
dc.identifier.otherhs3217
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/6226
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในพื้นที่ในกลไกการบริการด้านสุขภาพปฐมภูมิ และมุ่งพัฒนารูปแบบกลไกความร่วมมือระหว่าง อปท. ในการอภิบาลระบบสุขภาพ ภายใต้บริบทการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ไปสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ซึ่งทำให้ อบจ. และ อปท. อื่นสามารถร่วมมือกันจัดบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิได้ตรงกับปัญหาของประชาชนในพื้นที่ และเปิดกว้างต่อการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ และกลไกสมัชชาสุขภาพในระดับพื้นที่ได้กว้างขวาง ระเบียบวิธีศึกษาครอบคลุมวิธีการเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ และดำเนินการผ่านการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action research) เพื่อทดลองพัฒนากลไกอภิบาลระบบสุขภาพปฐมภูมิให้กับ รพ.สต. ถ่ายโอนไปสังกัด อบจ. ที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนและบริบทปัญหาด้านสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ และติดตามประเมินผลการทดลองกลไกอภิบาลสุขภาพที่คณะผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น พื้นที่กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย อบจ. จำนวน 6 แห่ง ได้แก่ อบจ.เชียงใหม่ อบจ.ขอนแก่น อบจ.นครราชสีมา อบจ.ปทุมธานี อบจ.ภูเก็ต และ อบจ.สงขลา ผู้ให้ข้อมูลหลักที่มีครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายตั้งแต่ระดับจังหวัด อำเภอ และตำบล ที่เป็นพื้นที่นำร่อง จำนวน 6 จังหวัด จำนวน 11 รพ.สต. 1 สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี (สอน.) คือ ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ อบจ. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) สาธารณสุขอำเภอ (สสอ.) โรงพยาบาลชุมชน (รพช.) รพ.สต. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ผู้นำชุมชน ผู้รับบริการ อปท. และสมัชชาสุขภาพในแต่ละจังหวัด ผลการวิจัยพบว่า กลไกอภิบาลสุขภาพปฐมภูมิเป็นสิ่งที่สามารถผลักดันให้เกิดขึ้นได้ โดยผ่านการมีส่วนร่วมกับทุกภาคส่วน และส่งผลดีต่อการยกระดับการให้บริการสุขภาพและระบบสนับสนุนของ รพ.สต./สอน. ถ่ายโอนทั้ง 12 แห่ง อย่างชัดเจน อาทิ การยกระดับคุณภาพบริการคลินิกทันตกรรมนอกเวลา การพัฒนาระบบรับส่งผู้ป่วยกรณีฉุกเฉินและกรณีปกติ การลดความเสี่ยงด้านอุบัติเหตุในชุมชน การพัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพรายบุคคล การขยายขอบเขตการดูแลด้านสุขภาพให้ครอบคลุมระดับชุมชน เช่น สถานีสุขภาพชุมชนและศูนย์โฮมฮักรักษ์สุขภาพ และการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพปฐมภูมิ (CUP Split) ทั้งนี้ รูปแบบและเป้าหมายในการดูแลด้านสุขภาพมีความหลากหลายในพื้นที่ตามความต้องการของประชาชนและปัญหาด้านสุขภาพ สามารถดูแลกลุ่มประชากรเป้าหมายได้ครอบคลุมมากกว่าเดิม การวิจัยครั้งนี้สะท้อนว่า การถ่ายโอนภารกิจ รพ.สต. มีส่วนสำคัญในการเพิ่มคุณภาพบริการสุขภาพปฐมภูมิโดยตรง และรัฐควรสนับสนุนและผลักดันการดำเนินการถ่ายโอนต่อไป และขจัดเงื่อนไขต่าง ๆ ทางกฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินงานของ รพ.สต. และ อบจ. ในการดำเนินภารกิจนี้th_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นth_TH
dc.subjectสาธารณสุขมูลฐานth_TH
dc.subjectบริการสุขภาพชุมชนth_TH
dc.subjectบริการปฐมภูมิ (การแพทย์)th_TH
dc.subjectPrimary Care (Medicine)th_TH
dc.subjectPrimary Health Careth_TH
dc.subjectการกระจายอำนาจด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการศึกษาและพัฒนากลไกความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่ออภิบาลระบบสุขภาพท้องถิ่นภายใต้บริบทการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัดth_TH
dc.title.alternativeThe Study and Development of Cooperative Mechanisms Among Local Government Organizations for Local Health System Governance in the Context of Transferring Sub-district Health Promotion Hospitals to Provincial Administrative Organizationsth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims to explore intergovernmental relationships among key actors and local government authorities in community health promotion and to develop community health governance mechanisms that help to strengthen the efficacy of primary health care. The context of service devolution of sub-district health promotion hospitals (SHPH) to Provincial Administrative Organization (PAO) enables the sense of local community ownership and wide participation among key stakeholders such that SHPH better performs and provides meaningful and need-based primary health services. The research comprises several mixed methods; both quantitative and qualitative, and action research in order to experimenting need-based, innovative health services mechanisms at the 12 sampled SHPH units in six PAOs; namely, Chiang Mai PAO, Khon-Kaen PAO, Nakorn Ratchasima PAO, Patum Thanee PAO, Phuket PAO, and Songkhla PAO. After experimenting with 12 community-owned sandboxes in the sampled cases, output and outcome evaluations are also employed. Key data and informants incorporate public officials in several government agencies related to public health service functions of Thailand. This includes officials from six selected PAOs, Provincial Public Health Offices, District Public Health Offices, Community Hospitals, Sub-district Health Promotion Hospitals, Community heath volunteers, Civic leaders, Local authority, Patients, and Provincial health networks. Findings show that all twelve community health sandboxes are very effective in improving wide community engagement and quality of primary health services. For example, an expansion of after-hour dental services, emergency and non-emergency medical services in flood-prone areas, risk reduction in road accidents, the development of individual-level and provincial-level health records for planning and monitoring purposes, the establishment of community and village-level health stations, and the setting-up of community health networks (CUP Split). All these health-care initiatives fit very well the community context and public health conditions and help expand services to cover the wider numbers of vulnerable people. This research suggests that the devolution of primary health services and the SHPH to local authorities and the PAOs are beneficial to communal residents. Therefore, the State shall advocate further devolution of the SHPH and eradicate legal obstacles so that the SHPH and PAOs provide services in more effective and efficient manners in the near future.th_TH
dc.identifier.callnoWA540.JT3 ป471ก 2567
dc.identifier.contactno66-162
dc.subject.keywordHealth Decentralizationth_TH
dc.subject.keywordHealth Decentralizeth_TH
dc.subject.keywordการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขth_TH
.custom.citationปรีดา แต้อารักษ์, Preeda Taearak, วีระศักดิ์ เครือเทพ, Weerasak Krueathep, วิรุฬ ลิ้มสวาท, Wirun Limsawart, พีธากร ศรีบุตรวงษ์, Peethakorn Sribhudwong, ศักดิ์ชัย กาญจนวัฒนา, Sakchai Kanjanawatana, ปรานอม โอสาร, Pranom Aosan, ศดานนท์ วัตตธรรม, Sadanon Wattatham, ศิริศักดิ์ เหล่าจันขาม, Sirisak Laochankham, เฉลิมพร วรพันธกิจ, Chalermphorn Worraphantakit, ไกรวุฒิ ใจคําปัน, Kraiwuth Jaikampan, ธวัชชัย เอกสันติ, Thawatchai Aeksanti, ดารินทร์ กําแพงเพชร, Darin Kamphaengphet, ศักดิ์ณรงค์ มงคล, Saknarong Mongkol, โกเมนทร์ ทิวทอง, Komain Tewtong, ภัชร์จิรัสม์ ธัชเมฆรัตน์, Pachjirat Thachmakerat, ศุมล ศรีสุขวัฒนา, Soomol Srisookwatana, จารึก ไชยรักษ์, Jaruek Chairak, วีรบูรณ์ วิสารทสกุล, Weeraboon Wisartsakul, จักรินทร์ สีมา and Jakkarin Seema. "การศึกษาและพัฒนากลไกความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่ออภิบาลระบบสุขภาพท้องถิ่นภายใต้บริบทการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด." 2567. <a href="http://hdl.handle.net/11228/6226">http://hdl.handle.net/11228/6226</a>.
.custom.total_download19
.custom.downloaded_today3
.custom.downloaded_this_month17
.custom.downloaded_this_year19
.custom.downloaded_fiscal_year19

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs3217.pdf
ขนาด: 9.579Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย