Prevalence of Congenital Abnormalities in Thailand between 2008 and 2022: A Retrospective Study from a Standard Health Data Center
dc.contributor.author | จุฬาลักษณ์ คุปตานนท์ | th_TH |
dc.contributor.author | Chulaluck Kuptanon | th_TH |
dc.contributor.author | อภิรักษ์ กุลสุ | th_TH |
dc.contributor.author | Apirak Kulsu | th_TH |
dc.contributor.author | โชติรส ภู่ระหงษ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Shotirose Phurahong | th_TH |
dc.contributor.author | เดือนฉาย คะตา | th_TH |
dc.contributor.author | Dueanchai Khata | th_TH |
dc.contributor.author | นภัสวรรณ ศิริวงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Napatsawan Siriwong | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-04-01T08:30:02Z | |
dc.date.available | 2025-04-01T08:30:02Z | |
dc.date.issued | 2568-03 | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 19,1 (ม.ค - มี.ค. 2568) : 10-20 | th_TH |
dc.identifier.issn | 2672-9415 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/6250 | |
dc.description.abstract | ความผิดปกติแต่กำเนิดยังเป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี มีการศึกษาความชุกของความผิดปกติแต่กำเนิดของประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ. 2557-2559 แต่ไม่มีข้อมูลหลังจากนั้น จึงศึกษาย้อนหลังเพื่อดูสถานการณ์ความชุกของความผิดปกติแต่กำเนิดในประเทศไทย ณ ปัจจุบัน วิธีการศึกษา: ศึกษาย้อนหลังโดยใช้ฐานข้อมูลในโครงสร้างมาตรฐานข้อมูลด้านสุขภาพ (43 แฟ้ม) จากระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center: HDC) ข้อมูลรหัสโรคความผิดปกติแต่กำเนิด 18 กลุ่มโรค (ตาม International Classification of Disease ฉบับที่ 10, ICD10) และปีเกิดของเด็กระหว่างปี 2551-2565 รวบรวม และวิเคราะห์ เพื่อหาความชุกของแต่ละโรค ผลการศึกษา: ความชุกของความผิดปกติแต่กำเนิดทั้งหมด 18 กลุ่มโรค มีประมาณร้อยละ 2 ของเด็กเกิดมีชีพความผิดปกติแต่กำเนิดที่พบบ่อย 5 อันดับแรกในประเทศไทย ได้แก่ ภาวะหัวใจพิการแต่กำเนิด ความผิดปกติของแขนขา ปากแหว่งเพดานโหว่ กลุ่มอาการดาวน์ และการอุดตันของทางเดินปัสสาวะ ตามลำดับ ความชุกของกลุ่มอาการดาวน์ ลดลงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2559 ความชุกของภาวะโพรงสมองคั่งน้ำแต่กำเนิด และภาวะหลอดประสาทไม่ปิด พบประมาณร้อยละ 0.03 (อยู่ใน 10 ความผิดปกติแต่กำเนิดที่พบบ่อย) สรุป: ความผิดปกติแต่กำเนิด ยังเป็นปัญหาสำคัญของเด็กในระดับประเทศ ความชุกของกลุ่มอาการดาวน์มีแนวโน้มลดลง | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | ความผิดปกติแต่กำเนิด | th_TH |
dc.subject | Down Syndrome | th_TH |
dc.subject | Neural Tube Defects | th_TH |
dc.title | ความชุกของความผิดปกติแต่กำเนิดในประเทศไทยระหว่างปี 2551-2565: การศึกษาย้อนหลังจากฐานข้อมูลมาตรฐานด้านสุขภาพ | th_TH |
dc.title.alternative | Prevalence of Congenital Abnormalities in Thailand between 2008 and 2022: A Retrospective Study from a Standard Health Data Center | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Congenital anomalies are still the leading cause of death in children under 5 years of age. A study of the prevalence of congenital anomalies in Thailand was conducted in 2014-2016, since then there is no current data. Therefore, a retrospective study was conducted to examine the current prevalence of congenital anomalies in Thailand. Methods: A retrospective study using the 43-file standard dataset from the Health Data Center, Ministry of Public Health was conducted. Data including ICD10 (International Classification of Disease tenth revision) codes of 18 birth defect groups and child birthdates between 2008 and 2022 were collected and analyzed for the prevalence of each disorder. Results: The prevalence of 18 congenital anomalies was approximately 2 percent. The five most common congenital anomalies were congenital heart defects, limb anomalies, cleft lip/cleft palate, Down syndrome, and urinary tract obstruction, respectively. The prevalence of Down syndrome has been reduced steadily since 2016. The prevalence of congenital hydrocephalus and neural tube defects was found to be approximately 0.03 percent (among the top 10 common congenital anomalies). Conclusion: Congenital abnormality is still an important problem for children at the national level. | th_TH |
dc.subject.keyword | Congenital Anomalies | th_TH |
dc.subject.keyword | Birth Defect Registry | th_TH |
.custom.citation | จุฬาลักษณ์ คุปตานนท์, Chulaluck Kuptanon, อภิรักษ์ กุลสุ, Apirak Kulsu, โชติรส ภู่ระหงษ์, Shotirose Phurahong, เดือนฉาย คะตา, Dueanchai Khata, นภัสวรรณ ศิริวงศ์ and Napatsawan Siriwong. "ความชุกของความผิดปกติแต่กำเนิดในประเทศไทยระหว่างปี 2551-2565: การศึกษาย้อนหลังจากฐานข้อมูลมาตรฐานด้านสุขภาพ." 2568. <a href="http://hdl.handle.net/11228/6250">http://hdl.handle.net/11228/6250</a>. | |
.custom.total_download | 13 | |
.custom.downloaded_today | 1 | |
.custom.downloaded_this_month | 13 | |
.custom.downloaded_this_year | 13 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 13 |
![]() | ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1366]
บทความวิชาการ