แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การประเมินผลเชิงพัฒนานโยบาย 30 บาทรักษาทุกที่ ด้วยบัตรประชาชนใบเดียว ในพื้นที่นําร่อง

dc.contributor.authorปฤษฐพร กิ่งแก้วth_TH
dc.contributor.authorPritaporn Kingkaewth_TH
dc.contributor.authorยศ ตีระวัฒนานนท์th_TH
dc.contributor.authorYot Teerawattananonth_TH
dc.contributor.authorวรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัยth_TH
dc.contributor.authorWanrudee Isaranuwatchaith_TH
dc.contributor.authorนิธิเจน กิตติรัชกุลth_TH
dc.contributor.authorNitichen Kittiratchakoolth_TH
dc.contributor.authorวิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตรth_TH
dc.contributor.authorVilawan Luankongsomchitth_TH
dc.contributor.authorขวัญพุทธา อรุณประเสริฐth_TH
dc.contributor.authorKwanputtha Arunprasertth_TH
dc.contributor.authorพรอุมา ราศรีth_TH
dc.contributor.authorPornuma Rasrith_TH
dc.contributor.authorปภาดา ราญรอนth_TH
dc.contributor.authorPapada Ranronth_TH
dc.contributor.authorศุภสุดา โพธิ์โสรีย์th_TH
dc.contributor.authorSupasuda Posoreeth_TH
dc.contributor.authorนิชาต์ มูลคำth_TH
dc.contributor.authorNicha Moonkhamth_TH
dc.contributor.authorนุชพงศ์ จงโชติชัชวาลย์th_TH
dc.contributor.authorNuchapong Jongchotchatchawalth_TH
dc.contributor.authorวิศวะ มาลากรรณth_TH
dc.contributor.authorWissawa Malakanth_TH
dc.contributor.authorวิลาสินี สำเนียงth_TH
dc.contributor.authorWilasinee Samniangth_TH
dc.contributor.authorธนกร เจริญกิตติวุฒth_TH
dc.contributor.authorThanakorn Jalearnkittiwutth_TH
dc.contributor.authorอานนท์ กุลธรรมานุสรณ์th_TH
dc.contributor.authorAnond Kulthanmanusornth_TH
dc.contributor.authorศรวณีย์ อวนศรีth_TH
dc.contributor.authorSonvanee Uansrith_TH
dc.contributor.authorศิริกัลยาณ์ สุจจชารีth_TH
dc.contributor.authorSirikanlaya Sujjachareeth_TH
dc.contributor.authorพิสภาสินี พิศาลสินธุ์th_TH
dc.contributor.authorPispasinee Pisansinth_TH
dc.date.accessioned2025-04-08T09:00:59Z
dc.date.available2025-04-08T09:00:59Z
dc.date.issued2568-01
dc.identifier.otherhs3255
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/6259
dc.description.abstractนโยบาย “30 บาท รักษาทุกที่ ด้วยบัตรประชาชนใบเดียว” เป็นนโยบายภาครัฐจากแผนขับเคลื่อนนโยบายกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2567 ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับระบบบริการสุขภาพให้เกิดการเชื่อมโยงข้อมูลสุขภาพจากหน่วยบริการสาธารณสุขทุกระดับและทุกสังกัด และมุ่งหวังให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพปฐมภูมิ ที่สะดวก มีคุณภาพ รวดเร็ว ลดระยะเวลาการรอคอย ลดระยะเวลาเดินทาง สามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลสุขภาพของตนเองเพื่อให้เกิดสุขภาพที่ดี อีกทั้งประชาชนผู้ใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สิทธิ 30 บาท) สามารถเลือกรับบริการสุขภาพปฐมภูมิจากหน่วยบริการสาธารณสุขภาครัฐและคลินิกเอกชนที่ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการภายใต้สิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งเป็นการดำเนินงานในลักษณะนำร่อง 3 ระยะ โดยปลายปี พ.ศ. 2567 มี 46 จังหวัดที่เริ่มดำเนินงานตามนโยบายนี้ โครงการนี้ใช้แนวคิดการประเมินเชิงพัฒนา (developmental evaluation) ซึ่งเป็นการประเมินเพื่อพัฒนานโยบายที่อยู่ในระหว่างการดำเนินงานที่เป็นนโยบายเกิดขึ้นใหม่ มีความซับซ้อนและเป็นพลวัตไม่หยุดนิ่ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์และประเมินผลลัพธ์ของนโยบาย “30 บาท รักษาทุกที่ ด้วยบัตรประชาชนใบเดียว” ในพื้นที่นำร่องและพัฒนาข้อเสนอแนะในการปรับปรุงนโยบายให้เหมาะสมกับบริบทของประเทศ โดยคณะผู้วิจัยและผู้ทำงานจะทำงานร่วมกัน (co-creation) เพื่อมุ่งหวังให้เกิดการพัฒนาข้อแนะนำอย่างทันท่วงทีตลอดระยะเวลาการประเมิน ซึ่งคณะผู้วิจัยได้เป็นส่วนหนึ่งในคณะทำงานกำกับ ติดตาม และประเมินผลโครงการบัตรประชาชนใบเดียวรักษาทุกที่ ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) มีผู้แทนจากกระทรวงสาธารณสุข สภาวิชาชีพ ผู้ดำเนินนโยบายในพื้นที่ และนักวิชาการที่ร่วมประเมินผลนโยบาย กลไกนี้เป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เกิดข้อมูลย้อนกลับ (feedback loop) เพื่อทำความเข้าใจปัญหาและอุปสรรคของการดำเนินนโยบาย และหาแนวทางการดำเนินงานเพื่อพัฒนานโยบายในช่วงต้นของการดำเนินงาน คณะผู้วิจัยได้นำทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง (theory of change) มาใช้เป็นหนึ่งในเครื่องมือการมองเป้าหมายของนโยบายจากกลุ่มผู้กำหนดนโยบายและผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดนำร่องระยะที่ 1 ซึ่งเป็นการมองภาพกว้างเพื่อคาดการณ์ผลกระทบทางเชิงบวกและเชิงลบที่อาจเกิดขึ้นจากการดำเนินนโยบาย และใช้เป็นข้อมูลนำเข้าเพื่อการสำรวจและการสัมภาษณ์ผู้รับบริการ ผู้ให้บริการและภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อประเมินผลด้วยระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสาน (mixed-methods research) ทั้งวิธีวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณเพื่อตอบโจทย์เรื่องผลกระทบเชิงบวกและเชิงลบที่เกิดขึ้นกับผู้รับบริการ ผู้ให้บริการและระบบสาธารณสุข ปัจจัยที่ส่งเสริม/เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินงานเพื่อการเตรียมความพร้อมสำหรับหน่วยบริการในพื้นที่อื่น ๆ และต้นทุนต่อหน่วยการบริการสำหรับเตรียมเป็นข้อมูลนำเข้าแก่ผู้กำหนดนโยบายในการพิจารณาอัตราเบิกจ่ายที่เหมาะสมth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectนโยบายสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Policyth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.subjectนโยบายสุขภาพth_TH
dc.subjectInsurance, Healthth_TH
dc.subjectประกันสุขภาพth_TH
dc.titleการประเมินผลเชิงพัฒนานโยบาย 30 บาทรักษาทุกที่ ด้วยบัตรประชาชนใบเดียว ในพื้นที่นําร่องth_TH
dc.title.alternativeThe Developmental Evaluation of 30 Baht Treatment Anywhere with One ID Card Policy in Pilot Areath_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeIn 2024, the Ministry of Public Health introduced a flagship government policy titled “30-Baht Treatment Everywhere with a National ID Card.” This initiative was designed to integrate personal health records (PHR) across public health facilities nationwide. The policy aimed to improve access to convenient, high-quality primary healthcare, reduce travel and waiting times, and empower citizens to leverage their health data for better health and well-being. Under the Universal Coverage Scheme (UCS), Thai citizens could access healthcare services at both public facilities and registered private clinics covered by the National Health Security Office (NHSO). The policy was implemented in three pilot phases, with 46 provinces participating by the end of 2024. Developmental Evaluation (DE) was employed as an approach particularly suited to assessing complex, dynamic, and emerging policies during their implementation phase. The objectives of this study were to explore and evaluate policy outcomes in pilot areas and to develop context-specific recommendations for policy improvement. Using a co-creation approach, evaluators and stakeholders worked collaboratively to provide timely feedback throughout the evaluation period. The research team, as part of the NHSO's monitoring and evaluation committee, worked closely with representatives from the Ministry of Public Health, health professional councils, implementers, and academics. This collaborative structure enabled a timely feedback loop, facilitating the identification of implementation challenges and the proposal of practical solutions during the early stages of policy deployment. The Theory of Change (TOC) was employed as a tool to capture the perceptions of policy goals from the perspectives of both policymakers and implementers during the first phase in the pilot provinces. It also helped identify potential positive and negative impacts of policy implementation and informed the design of data collection methods. The study adopted a mixed-methods research approach, integrating qualitative and quantitative methodologies to evaluate the policy's effects on healthcare providers, patients, and the healthcare system. Additionally, the research examined factors that facilitated or hindered implementation readiness in other areas, as well as the unit cost of service provision, to provide policymakers with insights for determining appropriate reimbursement rates.th_TH
dc.identifier.contactno67-081
.custom.citationปฤษฐพร กิ่งแก้ว, Pritaporn Kingkaew, ยศ ตีระวัฒนานนท์, Yot Teerawattananon, วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย, Wanrudee Isaranuwatchai, นิธิเจน กิตติรัชกุล, Nitichen Kittiratchakool, วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร, Vilawan Luankongsomchit, ขวัญพุทธา อรุณประเสริฐ, Kwanputtha Arunprasert, พรอุมา ราศรี, Pornuma Rasri, ปภาดา ราญรอน, Papada Ranron, ศุภสุดา โพธิ์โสรีย์, Supasuda Posoree, นิชาต์ มูลคำ, Nicha Moonkham, นุชพงศ์ จงโชติชัชวาลย์, Nuchapong Jongchotchatchawal, วิศวะ มาลากรรณ, Wissawa Malakan, วิลาสินี สำเนียง, Wilasinee Samniang, ธนกร เจริญกิตติวุฒ, Thanakorn Jalearnkittiwut, อานนท์ กุลธรรมานุสรณ์, Anond Kulthanmanusorn, ศรวณีย์ อวนศรี, Sonvanee Uansri, ศิริกัลยาณ์ สุจจชารี, Sirikanlaya Sujjacharee, พิสภาสินี พิศาลสินธุ์ and Pispasinee Pisansin. "การประเมินผลเชิงพัฒนานโยบาย 30 บาทรักษาทุกที่ ด้วยบัตรประชาชนใบเดียว ในพื้นที่นําร่อง." 2568. <a href="http://hdl.handle.net/11228/6259">http://hdl.handle.net/11228/6259</a>.
.custom.total_download14
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month14
.custom.downloaded_this_year14
.custom.downloaded_fiscal_year14

ฉบับเต็ม
Thumbnail
ชื่อ: hs3255.PDF
ขนาด: 2.828Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย