แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

พฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในกรุงเทพมหานคร: การศึกษาชุมชนเมืองบางคอแหลม

dc.contributor.authorสมนึก กุลสถิตพรen_US
dc.contributor.authorSomnuke Gulsatitpornen_US
dc.contributor.authorดารวัลย์ ศรีธัญรัตน์en_US
dc.contributor.authorDarawan Sritanyaraten_US
dc.contributor.authorวัลลา ตันตโยทัยen_US
dc.contributor.authorValla Tantayotaien_US
dc.contributor.authorสิริเนตร กฤติยาวงศ์en_US
dc.contributor.authorSirinate Krittiyawongen_US
dc.contributor.authorยุพา ไพรงามเนตรen_US
dc.contributor.authorYupa Praingamnetren_US
dc.contributor.authorวินัย ดะห์ลันen_US
dc.contributor.authorWinai Dahlanen_US
dc.contributor.authorเทพ หิมะทองคำen_US
dc.contributor.authorThep Himathongkamen_US
dc.coverage.spatialกรุงเทพมหานครen_US
dc.date.accessioned2008-11-06T02:47:51Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T15:57:00Z
dc.date.available2008-11-06T02:47:51Zen_US
dc.date.available2557-04-16T15:57:00Z
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,3 (ก.ค.-ก.ย. 2551) : 409-418en_US
dc.identifier.issn0858-9437en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/695en_US
dc.description.abstractพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างเหมาะสมและสม่ำเสมอ เป็นส่วนหนึ่งของวิธีการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่อาศัยอยู่ในชุมชนเขตเมือง และศึกษาผลของการออกกำลังกายต่อภาวะสุขภาพและภาวะแทรกซ้อนของเบาหวาน ในอาสาสมัครผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เข้ารับบริการที่ศูนย์บริการสาธารณสุข 12 กรุงเทพมหานคร ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนมิถุนายน 2549 อาสาสมัครทุกคนตอบแบบสอบถามส่วนบุคคล แบบสอบถามพฤติกรรมการออกกำลังกาย การตรวจเลือด การวัดขนาดสัดส่วนร่างกาย และการตรวจภาวะแทรกช้อนของเบาหวาน จากการศึกษาพบว่าอาสาสมัครจำนวน 203 คน มีพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ 75 คน (ร้อยละ 36.9) และไม่ออกกำลังกาย 128 คน (ร้อยละ 63.1) มีผู้ที่ออกกำลังกายเข้าเกณฑ์มาตรฐานเพียง 42 คน (ร้อยละ 20.7) ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีน้ำตาลหลังงดอาหารและไตรกลีย์เศอไรด์ น้อยกว่ากลุ่มไม่ออกกำลังกายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ค่าพี < 0.05) และมีแนวโน้มสัดส่วนการเกิดภาวะแทรกซ้อนของเบาหวานน้อยกว่ากลุ่มไม่ออกกำลังกาย ผลการศึกษาในครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่าผู้ป่วยเบาหวานที่อาศัยในชุมชนเขตเมือง มีพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างเหมาะสมและสม่ำเสมอค่อนข้างน้อย การแก้ปัญหาอาจต้องคำนึงถึงทั้งทางด้านองค์ความรู้ในการออกกำลังกายที่เหมาะสมและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายth_TH
dc.format.extent251078 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleพฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในกรุงเทพมหานคร: การศึกษาชุมชนเมืองบางคอแหลมen_US
dc.title.alternativeExercise Behavior among Type-2 Diabetic Patients in Bangkok: The Bangkholaem Urban Community Studyen_US
dc.typeArticleen_US
dc.description.abstractalternativeRegular and proper exercise behavior was part of a method to control blood sugar levels in type-2 diabetic patients. This research was aimed at studying the exercise behavior of type-2 diabetic patients residing in urban communities as well as studying the effect of exercise on their health condition and diabetic complications. Volunteers in this project included type-2 diabetic patients who had received medical treatment from BMA Health Service Center 12 from February to June 2006. All the volunteers first completed the personal questionnaire form and exercise behavior questionnaire form, and underwent blood testing, anthropometric measurements, and diabetic complications check-up. The study found that 75 of 203 volunteers (or 36.9%) had regular exercise behavior; while 128 of 203 volunteers (or 63.1%) refrained from performing regular exercise; however, only 42 of the 75 volunteers in the regular-exercise group were within the standard criteria for regular exercisers. The regular exercise group had lower fasting blood sugar and triglyceride levels than those of the non-exercise group, with the statistical significance being (p < 0.05), and tended to have a lower proportion of occurrences of diabetic complications than those in the non-exercise group. The result of this study indicates that diabetes patients residing in urban communities had a lower level of regular and proper exercise behavior. To solve this problem, the body of knowledge on proper exercise and patterns of exercise behavior modification must be taken into consideration.en_US
dc.subject.keywordพฤติกรรมการออกกำลังกายen_US
dc.subject.keywordผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2en_US
dc.subject.keywordชุมชนเมืองen_US
dc.subject.keywordExercise Behavioren_US
dc.subject.keywordType-2 Diabetes Patientsen_US
dc.subject.keywordUrban Communityen_US
.custom.citationสมนึก กุลสถิตพร, Somnuke Gulsatitporn, ดารวัลย์ ศรีธัญรัตน์, Darawan Sritanyarat, วัลลา ตันตโยทัย, Valla Tantayotai, สิริเนตร กฤติยาวงศ์, Sirinate Krittiyawong, ยุพา ไพรงามเนตร, Yupa Praingamnetr, วินัย ดะห์ลัน, Winai Dahlan, เทพ หิมะทองคำ and Thep Himathongkam. "พฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในกรุงเทพมหานคร: การศึกษาชุมชนเมืองบางคอแหลม." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/695">http://hdl.handle.net/11228/695</a>.
.custom.total_download3953
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month78
.custom.downloaded_this_year1172
.custom.downloaded_fiscal_year164

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hsri-journal-v2n3 ...
ขนาด: 249.7Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Articles [1352]
    บทความวิชาการ

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย