ทบทวนวรรณกรรมธรรมาธิบาลในระบบสุขภาพ
dc.contributor.author | มานวิภา อินทรทัต | en_US |
dc.contributor.author | Manvipa Indradat | en_US |
dc.contributor.author | อาจยุทธ เนติธนากูล | en_US |
dc.contributor.author | Ardyuth Natithanakul | en_US |
dc.coverage.spatial | ไทย | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-11-06T02:55:42Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T15:57:18Z | |
dc.date.available | 2008-11-06T02:55:42Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T15:57:18Z | |
dc.date.issued | 2551 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,3 (ก.ค.-ก.ย. 2551) : 443-449 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/700 | en_US |
dc.description.abstract | ด้วยเป้าหมายหลักของการพัฒนาระบบสุขภาพไทย คือ การมีธรรมาภิบาลในการจัดการระบบสุขภาพให้สมดุล และยั่งยืน เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรงและมีสุขภาวะที่ดี การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาสถานการณ์ปัจจุบันของธรรมาภิบาลระบบสุขภาพ คณะผู้รายงานจึงทำการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ปัญหา อุปสรรค และวางแนวทางการวิจัยต่อไป ทำการศึกษา แบ่งธรรมาภิบาลสุขภาพเป็น 10 องค์ประกอบ คือ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักความมีส่วนร่วม หลักสำนึกรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ การบริหารจัดการและเทคโนโลยีสารสนเทศ วิเคราะห์ตัวอย่างเป็นระดับมหัพภาคและจุลภาค และพิจารณาบริการสาธารณสุขเป็นกระบวนการตั้งแต่การนำเข้า กระบวนการ ผลผลิต และผลลัพธ์ซึ่งอยู่ภายใต้สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง รวมทั้งผู้ที่มีบทบาทในกระบวนการทั้งหมด จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่า ยังมีปัญหาในทุกองค์ประกอบของธรรมาภิบาล ดังนั้นถ้ามีการแก้ปัญหาในองค์ประกอบธรรมาภิบาลดังกล่าว ก็จะนำมาซึ่งผลผลิตคือ ได้บริการที่มีคุณภาพและเพียงพอ ประชาชนมีความพึงพอใจ และมีผลลัพธ์คือ การมีสุขภาพแข็งแรง และการมีสุขภาวะที่ดีของประชาชนอย่างยั่งยืน จากการศึกษาธรรมาภิบาลระบบสุขภาพทั้งในและต่างประเทศ พบว่าธรรมาภิบาลเป็นปัจจัยหนึ่งของระบบสุขภาพในการนำมาใช้ต้องปรับให้เหมาะกับการใช้ในทุกระดับ รวมทั้งสามารถตรวจสอบได้ ปัญหาที่พบในการทบทวนวรรณกรรมด้านการศึกษาธรรมาภิบาลระบบสุขภาพของไทยพบว่ายังขาดงานวิจัยอย่างมาก โดยเฉพาะงานวิจัยเชิงคุณภาพและการศึกษาเปรียบเทียบกับต่างประเทศ | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.title | ทบทวนวรรณกรรมธรรมาธิบาลในระบบสุขภาพ | en_US |
dc.title.alternative | Reviewing the Literature on Governance in Health System | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | The goal of Thai health system development is to achieve a balanced and sustainable society in which all Thai citizens have the security needed to live a happy life in a healthy and better condition. The objective of this study was to perform a literature review to form a foundation and knowledge base on good governance in the Thai health system, analyze and plan for research mapping. In this study, good governance in the health system was divided into 10 sectors: rule of law, ethics, transparency, participation, accountability, value for money, human resources development, knowledge organization, management and information technology. These were simultaneously analyzed in macro- and micro-analysis systems that were influenced by economic, social and political conditions as well as the agency’ s role. The literature review revealed that there were problems in every aspect of health governance. If these problems were solved more effectively, that would generate better and improved services in the health-care system. Consequently, it would create a sustainable society in which all Thai citizens would live a happy life in a healthy condition. The study found that governance is a function of the health system, that each governance principle should be developed and adapted, and that governance issues should be identified at all levels. The problems encountered in studying health governance were that the issue needs more research, especially that undertaken with a qualitative approach and comparison of the international governance functions. | en_US |
dc.subject.keyword | ธรรมภิบาลระบบสุขภาพ | en_US |
dc.subject.keyword | แนวคิดผู้รับใช้ | en_US |
dc.subject.keyword | การมีส่วนร่วมของประชาชน | en_US |
dc.subject.keyword | Health Governance | en_US |
dc.subject.keyword | Stewardship | en_US |
dc.subject.keyword | Public Participation | en_US |
.custom.citation | มานวิภา อินทรทัต, Manvipa Indradat, อาจยุทธ เนติธนากูล and Ardyuth Natithanakul. "ทบทวนวรรณกรรมธรรมาธิบาลในระบบสุขภาพ." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/700">http://hdl.handle.net/11228/700</a>. | |
.custom.total_download | 1126 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 9 | |
.custom.downloaded_this_year | 99 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 14 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
Articles [1352]
บทความวิชาการ