• ระบบประกันสุขภาพ : องค์ประกอบและทางเลือก 

      เสาวคนธ์ รัตนวิจตราศิลป์; Sauwakon Ratanawijitrasin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      นโยบาย 30 บาทรักษาทุกโรค เป็นความพยายามในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสำหรับประชาชนทุกคน จากการที่ได้ติดตามประเด็นที่มีการอภิปรายในช่วงระยะเวลา 2 ปี ที่ผ่านมา ทั้งในวงการสาธารณสุข วงการนิติบัญญัติ ตลอดจนความเห็นสาธารณะ ...
    • ระบบผู้เชี่ยวชาญช่วยแนะนำโภชนาการและการทำกายภาพบำบัดสำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรังสูงวัยบนอุปกรณ์พกพาเคลื่อนที่ 

      เทวิน ธนะวงษ์; Tawin Tanawong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-02)
      งานวิจัยนี้นำเสนอการใช้เทคนิคเหมืองข้อมูลสร้างโมเดลสนับสนุนการทำงานในลักษณะระบบผู้เชี่ยวชาญช่วยแนะนำโภชนาการและการทำกายภาพบำบัดสำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 6 ชนิด ซึ่งพัฒนาโมเดลด้วยโปรแกรมเวก้า3.6.9 โดยใช้อัลกอริธึมแบ่งกลุ่ม ...
    • ระบบยากับสุขภาพหญิงไทย : กรณีศึกษายาคุมกำเนิด 

      นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี; Niyada Kiatying-Angsulee; สุนทรี ท. ชัยสัมฤทธิ์โชค; เยาวลักษณ์ อ่ำรำไพ; กรแก้ว จันทภาษา; สรชัย จำเนียรดำรงการ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      ระบบยากับสุขภาพหญิงไทย กรณีศึกษายาคุมกำเนิด รายงานการวิจัยที่จัดทำในเชิงบูรณาการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษานโยบายและสถานการณ์การใช้ยาคุมกำเนิดของไทย ภายใต้ระบบยา ตั้งแต่ขั้นตอนของการคัดเลือก การจัดหา การกระจายและการใช้ยา ...
    • ระบบยาของประเทศไทย 

      คณะทำงานเพื่อศึกษาวิเคราะห์ระบบยาของประเทศไทย; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ; สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2538)
    • ระบบยาในจังหวัดสงขลา 

      สุรฉัตร ง้อสุรเชษฐ์; Surachat Ngorsuraches; ณรงค์ศักดิ์ สิงห์ไพบูลย์พร; อรรถพล ศรเลิศล้ำวาณิช; ยูซูฟ นิมะ; Narongsak Singhpaiboonporn; Attaporn Sornlertlumvanich; U-soop Nima (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      โครงการศึกษาระบบยาในจังหวัดสงขลานี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาหาปัญหาในระบบยาของโรงพยาบาลในจังหวัด ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่มีขอบเขตกว้างในระบบยา ทั้งในแง่ของมูลค่าและปริมาณของยาในระบบ ในการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับระบบยานั้นจะอ ...
    • ระบบราคาอ้างอิงของยาในประเทศไทย 

      เพชรรัตน์ พงษ์เจริญสุข; อังคณา แสงนภากาศ; อรลักษณ์ พัฒนาประทีป; นพคุณ ธรรมธัชอารี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข และสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2556)
      ค่าใช้จ่ายด้านยาของประเทศไทยมีมูลค่าเพิ่มสูงกว่าร้อยละสิบในช่วงหลายปีที่ผ่านมา โดยมีโรงพยาบาลเป็นแหล่งกระจายหลักของระบบการบริการด้านสุขภาพด้านยา คิดเป็นมูลค่ากว่าร้อยละ 70 ของตลาดยาแผนปัจจุบันทั่วประเทศ บริบทของระบบประก ...
    • ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการและรัฐวิสาหกิจ 

      นิภา ศรีอนันต์; Nipa Srianant (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      รายงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์การศึกษา 1. ภาพความเป็นไปโดยรวมของโครงการสวัสดิการข้าราชการ 2. เพื่อศึกษาแนวทางการดำเนินงานในช่วงเวลาที่ผ่านมาและแนวทางในปัจจุบันเพื่อที่จะประเมินความคืบหน้าของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ...
    • ระบบสารสนเทศเพื่อการติดตามราคาและวิเคราะห์ขีดความสามารถในการจัดซื้อผลิตภัณฑ์ยาของภาครัฐตามแนวทางของ PAC 

      รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์; นุศราพร เกษสมบูรณ์; ศิริพา อุดมอักษร; อินทิรา กาญจนพิบูลย์; ไพทิพย์ เหลืองเรืองรอง (2555)
      กลไกการควบคุมค่าใช้จ่ายเป็นมาตรการที่ใช้กันทั่วไปเพื่อให้ระบบประกันสุขภาพมีประสิทธิภาพ ภายใต้มาตรการเหล่านี้ ถ้าผู้ให้บริการขาดศักยภาพในการจัดการ ผลกระทบจะเกิดกับคุณภาพการให้บริการแก่ผู้ป่วย ดังนั้นการเพิ่มศักยภาพในการจั ...
    • ระบบสารสนเทศแบบคอมพิวเตอร์ในโรงพยาบาลและคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วย 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul; อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Anuwat Supachutikul; Jiruth Sriratanaban; สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      ปัจจุบันมีการนำเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในกระบวนการดูแลรักษาและให้บริการในโรงพยาบาลต่างๆ ในประเทศไทย เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการ โดยเฉพาะการจัดทำรายงานประกอบการเบิกจ่ายงบประมาณตามโครงการประกันสุขภาพต่างๆ โดยที่ยังไม่แน่ ...
    • ระบบสุขภาพภาคประชาชนกับความเจ็บป่วยเรื้อรัง : สถานะความรู้และทิศทางการวิจัย 

      มัลลิกา มัติโก; เพ็ญจันทร์ เชอร์เรอร์; จุติพร ผลเกิด; เยาวเรศ วิสูตรโยธิน; สุชีพ เณรานนท์; วัชริน สินธวานนท์ (สำนักงานวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2553-10)
    • ระบบสุขภาพแบบพื้นบ้านและระบบสุขภาพแบบประชาชนเพื่อการส่งเสริมสุขภาพสตรีวัยกลางคนในสังคมและวัฒนธรรมภาคใต้ 

      สาวิตรี ลิ้มชัยอรุณเรือง; Sawittree Limchaiarunruang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยการพัฒนาระบบทางเลือกเพื่อส่งเสริมสุขภาพของสตรีวัยกลางคน เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบสุขภาพแบบพื้นบ้านและระบบสุขภาพแบบประชาชนในชุมชนเขตเมืองและชนบทจังหวัดสงขลา ...
    • ระบบสุขภาพและการประเมินผลการดำเนินการ 

      ปรีดา ทัศนประดิษฐ์; Preeda Tasanapradit; เกื้อ วงศ์บุญสิน; สุทธิชัย จิตะพันธ์กุล; สุวาณี สุรเสียงสังข์; แกมทอง อินทรัตน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเพื่อกำหนดตัวชี้วัดของการดำเนินการของระบบสุขภาพของประเทศไทย โดยเป็นกระบวนการค้นหาข้อมูลนำเข้าจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่มีอยู่ในและต่างประเทศ ร่วมกับกระบวนการกลุ่มเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันในหมู่ผู ...
    • ระบบส่งต่อในเขตพื้นที่ชายแดนจังหวัดตาก : ปัญหาและการแก้ไข 

      จิรพงศ์ อุทัยศิลป์; Chiraphong Utaisin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 254?)
      ระบบส่งต่อที่กระทรวงสาธารณสุขกําหนดขึ้นจะเริ่มต้นที่สถานีอนามัยหรือโรงพยาบาลชุมชนใกล้บ้าน ในทางปฏิบัติเมื่อมีผู้ป่วยหนักเกินขีดความสามารถ ถ้าเป็นผู้ป่วยฉุกเฉิน โรงพยาบาลจะจัดรถพยาบาลและเจ้าหน้าที่นำส่งให้ แต่หากไม่ใช่ผู้ ...
    • ระบบหลักประกันสุขภาพ : ประสบการณ์จาก 10 ประเทศ 

      เสาวคนธ์ รัตนวิจิตราศิลป์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544-04)
      การเคลื่อนไหวเพื่อปฏิรูประบบสุขภาพของไทย นอกจากจะเกิดขึ้นท่ามกลางกระแสของการปฏิรูปด้านต่างๆ ในสังคมไทยแล้ว ยังเกิดขึ้นท่ามกลางกระแสการปฏิรูประบบสุขภาพของนานาประเทศในโลกในช่วงกว่าหนึ่งทศวรรษที่ผ่านมา กระแสการเคลื่อนไหวเพื ...
    • ระบบเกมโลกเสมือนจริงสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 

      จักรกริช กล้าผจญ; Jakkrit Klaphajone; ปกรณ์ วิวัฒน์วงศ์วนา; Pakorn Wivatvongvana; นพพล ชูศรี; Noppon Choosri; ปฏิสนธิ์ ปาลี; Patison Palee; ศุภรา กรุดพันธ์; Supara Grudpan; ศิรประภา วัฒนากุล; Siraprapa Wattanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      ในการบำบัดฟื้นฟูผู้ป่วยตามหลักการเวชศาสตร์ฟื้นฟูโรคผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับการฝึกปฏิบัติออกกำลังกล้ามเนื้ออย่างเต็มที่ ปัญหาของการบำบัดผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองหรือการบาดเจ็บสมองที่พบบ่อย ได้แก่ ...
    • ระบบเครือข่ายและการวิจัยแบบสหสาขาในโรคเบาหวานชนิดที่ 1 และโรคเบาหวานที่วินิจฉัยก่อนอายุ 30 ปี (ปีที่ 3) 

      ณัฐเชษฐ์ เปล่งวิทยา; Nattachet Plengvidhya; วทิพย์ ตั้งจิตติโภคิน; Watip Tangjittipokin; ทัศนีย์ นาคดนตรี; Tassanee Narkdontri; นิภาภรณ์ ธีระวัฒนพงศ์; Nipaporn Teerawattanapong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-10)
      ในปัจจุบันประเทศไทยยังไม่มีการศึกษาข้อมูลทางระบาดวิทยาเกี่ยวกับโรคเบาหวานชนิดที่ 1 ในทุกอายุและโรคเบาหวานที่วินิจฉัยก่อนอายุ 30 ปี ในระยะยาว การศึกษาในเด็กและวัยรุ่นชาวไทยได้รับการตีพิมพ์เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 5 ปีมาแล้ว ...
    • ระบบเฝ้าระวังผลกระทบทางสุขภาพของประชาชนที่อาศัยในพื้นที่บริเวณโรงไฟฟ้าแม่เมาะ จังหวัดลำปาง 

      ชัชวาลย์ จันทรวิจิตร; อะเคื้อ อุณหเลขกะ; ยุวยงค์ จันทรวิจิตร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-10)
      โรงไฟฟ้าแม่เมาะ เป็นโรงไฟฟ้าจากถ่านหินขนาดใหญ่ที่สุดของประเทศ ในแต่ละปีโรงไฟฟ้าแม่เมาะต้องเผาถ่านหินเพื่อผลิตความร้อนสำหรับนำไปใช้ในกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าถึงประมาณ 17 ล้านตัน ถ่านหินที่ใช้ได้มาจากเหมืองถ่านหินแม่เมาะซึ่ ...
    • ระบบเฝ้าระวังอัตโนมัติในการประเมิน ติดตาม ป้องกัน และแสดงแนวทางการบริหารจัดการเมื่อเกิดภาวะการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อจากการรั่วของยาหรือสารน้ำในระหว่างการให้ยาหรือสารน้ำชนิดยานอร์ริพิเอฟฟรินจากภาพถ่ายผิวหนังโดยใช้โครงข่ายประสาทเทียมเชิงลึกในรูปแบบแอปพลิเคชันบนสมาร์ตโฟน 

      จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต; Charturong Tantibundhit; ฐิติพร ปฐมจารุวัฒน์; Thitiporn Pathomjaruwat; บวรลักษณ์ ทองทวี; Borwarnluck Thongthawee; พัดชา พงษ์เจริญ; Padcha Pongcharoen; ดุษฎี สกลยา; Dudsadi Sakonlaya; ปรารถนา สิทธิวัฒนาวงศ์; Pradtana Sitthiwatthanawong; สินี เวศย์ชวลิต; Sinee Wetchawalit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      การบาดเจ็บของเนื้อเยื่อจากการรั่วของยา คือ ภาวะที่ยาที่มีฤทธิ์ในการทำลายเนื้อเยื่อรั่วซึมออกนอกหลอดเลือดในระหว่างการให้ยาทางหลอดเลือดดำ ส่งผลอันตรายต่อเนื้อเยื่อบริเวณโดยรอบที่ให้ยาทางหลอดเลือดดำ และอาจลุกลามถึงเส้นประสาท ...
    • ระบบและแพลตฟอร์มเพื่อการทดสอบทางการแพทย์ ณ จุดดูแลผู้ป่วย (POCT) ที่ทำงานร่วมกับสมาร์ทโฟน 

      พิสิฐ ตั้งกิจวานิชย์; Pisit Tangkijvanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-07)
      การตรวจคัดกรองและการวินิจฉัยโรคด้วยความรวดเร็ว เพื่อบ่งชี้ถึงข้อมูลสุขภาพนั้นเป็นพื้นฐานสำคัญอย่างมากในระบบสาธารณสุข ในปัจจุบัน หน่วยงานและอุปกรณ์ที่มีความพร้อมทางด้านการตรวจวิเคราะห์และวินิจฉัยในประเทศไทยยังมีปริมาณไม่เ ...
    • ระบบโครงสร้างและกลไกในการพัฒนาศักยภาพของชุมชนและสังคม ในการอนุรักษ์ พัฒนาและคุ้มครองภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถิไท (Empowerment) 

      อุษา กลิ่นหอม; Usa Khlinhom; ยงยุทธ ตรีนุชกร; Yongyut Treenuchakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      ผลจากการทบทวนเอกสารและจากการศึกษากรณีต่างๆ พบว่าการขับเคลื่อนการพัฒนาการแพทย์นอกกระแสหลักที่ผ่านมาและต่อยอดสู่อนาคต มีปัจจัยร่วมที่สำคัญที่จักส่งผลให้เกิดความสำเร็จดังนี้ 1.รัฐต้องดำเนินนโยบายและกระบวนการให้สอดคล้องกัน ...