Now showing items 21-40 of 380

    • การจัดลำดับความสำคัญและจัดทำแผนงานวิจัยด้านระบบบริการสุขภาพระดับชาติ 

      ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; Piya Hanvoravongchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-08-30)
      ที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยยังไม่มีการกำหนดยุทธศาสตร์งานวิจัยด้านระบบบริการสุขภาพในระดับประเทศ งานวิจัยส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นโครงการย่อยเฉพาะด้าน หรือเฉพาะประเด็น ทั้งนี้เพื่อเป็นไปตามความต้องการของนักวิจัย หรือแหล่งทุนสนับสนุน ...
    • การดูแลผู้ป่วยเบาหวานของหน่วยบริการปฐมภูมิ 

      วิโรจน์ เจียมจรัสรังษี; Wiroj Jiamjarasrangsri; วิฑูรย์ โล่ห์สุนทร; Vitool Lohsoonthorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      รายงานการศึกษา การดูแลผู้ป่วยเบาหวานของหน่วยบริการปฐมภูมิ ศึกษาขอบเขต แนวทางการประเมินคุณภาพการดูแล ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพการดูแล คุณภาพของการดูแล ทั้งสถานการณ์ในประเทศไทยและสถานการณ์ในต่างประเทศ อุปสรรคของการดูแล ...
    • การตอบสนองและเตรียมการของระบบบริการสุขภาพไทยต่อวิกฤติการระบาดของ COVID-19: การดำเนินการของโรงพยาบาล และผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมภายในขอบเขตของระบบสุขภาพ (รายงานฉบับย่อ) 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; นพพล วิทย์วรพงศ์; Nopphol Witvorapong; ธีระ วรธนารัตน์; Thira Woratanarat; สุรีรัตน์ งามเกียรติไพศาล; Sureerat Ngamkiatphaisan; วรากร วิมุตติไชย; Varakorn Wimuttichai; ฬุฬีญา โอชารส; Luleeya O-charot; ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์; Patarawan Woratanarat; อารียา จิรธนานุวัฒน์; Areeya Jirathananuwat; จตุรวิทย์ ทองเมือง; Chaturawit Thongmuang; ทักษิณา วัชรีบูรพ์; Tuksina Watchareeboon; พรหมภัสสร สุทธิโยธา; Phrompassorn Suddhiyodha; สุจิตรา วงศ์เครือศร; Sujitra Wongkruesorn; นรุตม์ชัย สุขพันธ์; Narutchai Sukpun; เอกจิตรา สุขกุล; Ake-Chittra Sukkul; นาถนภา คำลอยฟ้า; Nathnapha Khumloyfa (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      โครงการวิจัยการตอบสนองและเตรียมการของระบบบริการสุขภาพไทยต่อวิกฤติการระบาดของ COVID-19: การดำเนินการของโรงพยาบาล และผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมภายในขอบเขตของระบบสุขภาพ เป็นการวิจัยในรูปแบบผสมผสาน (Mixed method) ประกอบด้วย 6 ...
    • การตอบสนองและเตรียมการของระบบบริการสุขภาพไทยต่อวิกฤติการระบาดของ COVID-19: การดำเนินการของโรงพยาบาล และผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมภายในขอบเขตของระบบสุขภาพ (รายงานฉบับสมบูรณ์) 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; นพพล วิทย์วรพงศ์; Nopphol Witvorapong; ธีระ วรธนารัตน์; Thira Woratanarat; สุรีรัตน์ งามเกียรติไพศาล; Sureerat Ngamkiatphaisan; วรากร วิมุตติไชย; Varakorn Wimuttichai; ฬุฬีญา โอชารส; Luleeya O-charot; ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์; Patarawan Woratanarat; อารียา จิรธนานุวัฒน์; Areeya Jirathananuwat; จตุรวิทย์ ทองเมือง; Chaturawit Thongmuang; ทักษิณา วัชรีบูรพ์; Tuksina Watchareeboon; พรหมภัสสร สุทธิโยธา; Phrompassorn Suddhiyodha; สุจิตรา วงศ์เครือศร; Sujitra Wongkruesorn; นรุตม์ชัย สุขพันธ์; Narutchai Sukpun; เอกจิตรา สุขกุล; Ake-Chittra Sukkul; นาถนภา คำลอยฟ้า; Nathnapha Khumloyfa (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      โครงการวิจัยการตอบสนองและเตรียมการของระบบบริการสุขภาพไทยต่อวิกฤติการระบาดของ COVID-19: การดำเนินการของโรงพยาบาล และผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมภายในขอบเขตของระบบสุขภาพ เป็นการวิจัยในรูปแบบผสมผสาน (Mixed method) ประกอบด้วย 6 ...
    • การติดตามดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังโดยเภสัชกรชุมชน (ความดันโลหิตสูงและวัณโรคปอด) 

      พยอม สุขเอนกนันท์; Phayom Sukanaknan; อุษาศิริ ศรีสกุล; วิลาสินี หิรัญพานิช; มนสา สุนารัตน์; Usasiri Srisakul; Wilasinee Hirunphanit; Monsa Sunarat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การติดตามดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (ความดันโลหิตสูง)โดยเภสัชกรชุมชน พบว่าการมีส่วนร่วมของเภสัชกรในการติดตามดูแลผู้ป่วยในชุมชนในประเทศไทย ยังไม่เป็นบทบาทที่ชัดเจนทั้งตัวเภสัชกรเองและวิชาชีพอื่น วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่ ...
    • การถอดบทเรียนการดำเนินนโยบายคนไทยทุกครอบครัว มีหมอประจำตัว 3 คน ใน 4 จังหวัดของประเทศไทย 

      ฑิณกร โนรี; Thinakorn Noree; ชลิดา พลอยประดับ; Chalida Ploypradub; วิชาวี พลอยส่งศรี; Wichavee Ploysongsri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)
      นโยบายคนไทยทุกครอบครัวมีหมอประจำตัว 3 คน หรือนโยบายสามหมอ เริ่มในปี พ.ศ. 2563 โดยมุ่งเป้าให้คนไทยมีหมอดูแลสุขภาพประจำครอบครัวตั้งแต่ในหมู่บ้าน สถานีอนามัย หรือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและโรงพยาบาล ทั้งโรงพยาบาลชุมชนใน ...
    • การถอดบทเรียนเส้นทางการรับบริการสุขภาพของผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ในเขตสุขภาพที่ 9 

      สุพิตรา เศลวัตนะกุล; Supitra Selavattanakul; ธิดารัตน์ คณึงเพียร; Thidarat Kanungpiarn; สมจิตต์ เวียงเพิ่ม; Somjitt Wiangperm; ชัชฎาพร จันทรสุข; Chutchadaporn Jantarasuk; ควันเทียน วงศ์จันทรา; Kuantean Wongchantra; ชลดา กิ่งมาลา; Chonlada Kingmala (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อถอดบทเรียนเส้นทางการรับบริการสุขภาพของผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโควิด–19 ในเขตสุขภาพที่ 9 โดยการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods) เริ่มต้นด้วยวิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ (Qualitative Method) ...
    • การทบทวนกระบวนทัศน์เรื่องความตายกับมิติแห่งสุขภาวะ 

      ธนา นิลชัยโกวิทย์; Tana Nilchaigowit; วริสรา กริชไกรวรรณ; วรรณา จารุสมบูรณ์; พรเลิศ ฉัตรแก้ว; Warisara Krikhaiwan; Wanna Jarusomboon; Pornlert Charkaeow (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      โครงการนี้เป็นหัวข้อหนึ่งของการศึกษาทบทวนกระบวนทัศน์สุขภาพซึ่งหยิบยกเอาประเด็นเรื่องความตายและการจัดการความตายขึ้นมาพิจารณา โดยคาดหวังว่าผลการศึกษานี้จะเป็นจุดเริ่มต้นให้ผู้คนในสังคมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหันมาทบทวนแนวค ...
    • การทบทวนบทเรียนจากต่างประเทศเพื่อเป็นองค์ความรู้ในการกำหนดกระบวนการจัดทำธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ 

      ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การศึกษานี้เป็นการทบทวนเอกสารเพื่อถอดบทเรียนจากประเทศบราซิล สหรัฐอเมริกา และอังกฤษ ที่เกี่ยวกับการจัดทำแนวนโยบายและยุทธ์ศาสตร์เพื่อการขับเคลื่อนระบบสุขภาพ วิวัฒนาการและบริบท กระบวนการขับเคลื่อนระบบสุขภาพ และการประเมินผลการปฏิรูป ...
    • การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับการทำ Managed Entry Agreement (MEA) 

      ชะอรสิน สุขศรีวงศ์; Cha–oncin Sooksriwong; ปิยพัทธ์ โอวาท; Piyapat Owat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      เมื่อยาที่มีราคาแพงหรือยาใหม่ที่มีข้อมูลเกี่ยวกับประสิทธิภาพของยาที่ยังไม่สมบูรณ์ออกสู่ตลาด จะมีผลกระทบต่อผู้ซื้อบริการสุขภาพในฐานะที่เป็นผู้จ่ายเงินในระบบสุขภาพ การทำข้อตกลงในรูปแบบ managed entry agreement หรือ MEA ...
    • การทบทวนสถานการณ์งานวิจัย ด้านการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขตภาคใต้ 

      รวมพร คงกำเนิด; Roumporn Konggumnerd (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)
      จากการทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวกับการบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในภาคใต้ของประเทศไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2544 จนถึงปัจจุบัน จากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 400 เรื่อง โดยจากการสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูล Thai list ...
    • การทบทวนสถานการณ์งานวิจัยด้านการทำงานชุมชนท้องถิ่น 

      รวีวรรณ เผ่ากัณหา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)
      การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการบริการจัดการและระบบสนับสนุนจากงานวิจัยระหว่าง พ.ศ. 2544 – 2550 ทั้งหมด 9 เรื่อง ทบทวนจากงานวิจัยที่เป็นวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาระดับปริญญาโท 7 เรื่อง การศึกษาอิสระ 1 เรื่อง รายงานการศึกษา ...
    • การทบทวนสถานการณ์งานวิจัยด้านการบริหารจัดการและระบบสนับสนุน 

      รวีวรรณ เผ่ากัณหา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)
      การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการบริการจัดการและระบบสนับสนุน จากงานวิจัยระหว่าง พ.ศ. 2544 – 2550 ทั้งหมด 50 เรื่อง ทบทวนจากงานวิจัยที่เป็นวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาระดับปริญญาโท 27 เรื่อง การศึกษาอิสระ 9 เรื่อง รายงานการศึ ...
    • การทบทวนสถานการณ์งานวิจัยด้านการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขตกรุงเทพมหานคร 

      ยุพา อ่อนท้วม; ประเทือง หงสรานากร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)
      การทบทวนสถานการณ์ระบบบริการปฐมภูมิในเขตกรุงเทพมหานครใน 5 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 เรื่องศูนย์บริการสาธารณสุขและสาขา ส่วนที่ 2 เรื่องร้านยา ส่วนที่ 3 เรื่องคลินิกเอกชน ส่วนที่ 4 เรื่ององค์การพัฒนาเอกชนที่ทำงานด้านสาธารณสุข ส่วนที่ ...
    • การทบทวนสถานการณ์งานวิจัยด้านการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขตภาคตะวันออก 

      รวีวรรณ เผ่ากัณหา; สุนทราวดี เธียรพิเชฐ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)
      การทบทวนสถานการณ์งานวิจัยด้านการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขตภาคตะวันออก มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับบริการปฐมภูมิในเขตภาคตะวันออกเพื่อให้เห็นภาพรวมของการจัดบริการที่ผ่านมา สถานการณ์กําลังคน ...
    • การทบทวนสถานการณ์งานวิจัยด้านการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 

      ปิยธิดา คูหิรัญญรัตน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)
      การศึกษาสถานการณ์บริการระดับปฐมภูมิในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์,รูปแบบการบริการ, ระบบการสนับสนุน, มุมมองของผู้รับบริการ, และการประเมินผล การบริการระดับปฐมภูมิในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ...
    • การทบทวนสถานการณ์งานวิจัยด้านการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขตภาคเหนือ 

      รัตนาภรณ์ อาวิพันธ์; พูนทรัพย์ โสภารัตน์; รื่นรมย์ โกช่าง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)
      การทบทวนงานวิจัยด้านการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิเขตภาคเหนือ เป็นการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 จนถึงปัจจุบัน โดยสืบค้นจากฐานข้อมูลทรัพยากรสารนิเทศห้องสมุด ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูลงานวิจัยอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทย ...
    • การทบทวนสถานการณ์งานวิจัยด้านสถานการณ์บริการภาคประชาชน 

      รัตนาภรณ์ อาวิพันธ์; รวมพร คงกำเนิด (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)
      การทบทวนการวิจัยการบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในภาคประชาชน ในช่วง พ.ศ. 2545 -2550 มีจํานวนทั้งสิ้น 19 เรื่อง ประกอบด้วย วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท 17 เรื่อง ซึ่งเป็นงานวิจัยของสถาบันการศึกษา ได้แก่ คณะพยาบาลศาสตร์คณะสาธารณสุข ...
    • การทบทวนสถานการณ์งานวิจัยด้านสมรรถนะและบทบาทหน้าที่ของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วยบริการปฐมภูมิ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 

      จงกลณี จันทรศิริ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)
      การดำเนินงานในหน่วยบริการปฐมภูมินั้น พยาบาลวิชาชีพถือว่าเป็นบุคคลสำคัญในการให้บริการดูแลด้านสุขภาพแก่ประชาชน ซึ่งต้องทำหน้าที่เสมือนพยาบาลประจำครอบครัวที่มีหน้าที่ในการดูแลไม่เฉพาะผู้ป่วยทั้งที่เป็นกลุ่มโรคทั่วไปและโรครื ...
    • การทบทวนสถานการณ์งานวิจัยหมวดบริการ (รูปแบบบริการ/บทบาทหน่วยบริการ) 

      ทัศนีย์ ญาณะ; พฤกษา บุกบุญ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)
      การทบทวนงานวิจัยระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิหมวดบริการ (รูปแบบ/บทบาทหน่วยบริการ) ในช่วง พ.ศ. 2545 – 2550 ต้องการทราบสถานการณ์และรูปแบบของการจัดบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในประเทศไทย เพื่อใช้เป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ในการวางแผน ...