Now showing items 21-28 of 28

    • การเพิ่มสิทธิประโยชน์การรักษาผู้ป่วยโรค HAE (Hereditary Angioedema) ที่เกิดจากความผิดปกติของเอนไซม์ C1 esterase inhibitor: C1-INH 

      สุรศักดิ์ เสาแก้ว; Surasak Saokaew; พจมาน พิศาลประภา; Pochamana Phisalprapa; กิรติ เก่งกล้า; Kirati Kengkla; สุกฤษฏิ์ กาญจนสุระกิจ; Sukrit Kanchanasurakit; ชญานิศ โฆสิตะมงคล; Chayanis Kositamongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      โรค Hereditary angioedema (HAE) เป็นโรคทางพันธุกรรมหายากที่คุกคามชีวิตผู้ป่วย โรคนี้สามารถนำไปสู่การเกิดอาการกำเริบเฉียบพลัน โดยมีอาการบวมอย่างรุนแรงที่เกิดขึ้นในบริเวณต่างๆ เช่น ใบหน้า ทางเดินอาหารและกล่องเสียง ...
    • การแสดงออกของไมโครอาร์เอ็นเอในผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี 

      วรรณา ชัยเจริญกุล; Wanna Chaijaroenkul; เกศรา ณ บางช้าง; Kesara Na-Bangchang; ตุลยากร เปล่งสุริยการ; Tullayakorn Plengsuriyakarn; มยุรี ธาราสุข; Mayuri Tarasuk; กัลยรัตน์ บุญประเสริฐ; Kanyarat Boonprasert; นิภาวรรณ ลาภบุญเรือง; Nipawan Labbunruang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      โรคมะเร็งท่อน้ำดีเป็นปัญหาที่สำคัญทางสาธารณสุขของประเทศไทยโดยเฉพาะบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มะเร็งชนิดนี้มีความรุนแรงมากเนื่องจากไม่มีเครื่องมือในการวินิจฉัยระยะเริ่มแรกและผลการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดมีการตอบสนองไม่ดี ...
    • ธนาคารออกานอยด์มะเร็งตับและท่อน้ำดีไทย และฐานข้อมูลพันธุกรรมเชิงลึกสำหรับการหาตัวชี้วัดชีวภาพและพัฒนาการรักษาแบบจำเพาะต่อผู้ป่วย 

      นิพัญจน์ อิศรเสนา ณ อยุธยา; Nipan Israsena Na Ayudhaya; พิสิฐ ตั้งกิจวานิชย์; Pisit Tangkijvanich; สิระ ศรีสวัสดิ์; Sira Sriswasdi; แพรวพรรณ อิงรุ่งเรืองเลิศ; Praewphan Ingrungruanglert (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04)
      มะเร็งตับเป็นปัญหาสำคัญของประเทศ การรักษาปัจจุบันยังได้ผลไม่ดีเท่าที่ควร ทำให้มีผู้ป่วยจำนวนมากเสียชีวิตจากโรคนี้ เมื่อไม่นานมานี้เกิดเทคโนโลยีใหม่ทำให้สามารถเพาะมะเร็งตับของผู้ป่วยในรูปแบบสามมิติที่เรียกว่าออกานอยด์ ...
    • นำร่องการวิจัยสำหรับจีโนมิกส์ประเทศไทย: การศึกษาข้อมูลรหัสพันธุกรรมของผู้ป่วยมะเร็งชาวไทย 

      มานพ พิทักษ์ภากร; Manop Pithukpakorn; ชนพ ช่วงโชติ; Shanop Shuangshoti; ชินโชติ ธีรภัคภิญโญ; Chinachote Teerapakpinyo; นุสรา สัตย์เพริศพราย; Nusara Satproedprai; วสันต์ จันทราทิตย์; Wasun Chantratita; จันทนา ผลประเสริฐ; Chantana Polprasert (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของประชากรไทย โดยมะเร็งเกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรมของเซลล์ การกลายพันธุ์ของยีนก่อมะเร็งที่พบสามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด อันได้แก่ การกลายพันธุ์ที่เกิดขึ้นเองในเนื้อเยื่อปกติ (somatic ...
    • ระบาดวิทยาจีโนมของเชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli และ Klebsiella pneumoniae ที่ดื้อทั้งยาคาร์บาพีเนมและโคลิสตินที่ก่อการระบาดในโรงพยาบาลของประเทศไทย 

      อนุศักดิ์ เกิดสิน; Anusak Kerdsin; รุจิรัตน์ หาตรงจิตต์; Rujirat Hatrongjit; พีชานิกา ชอบจิตต์; Peechanika Chopjit; ปาริชาติ บัวโรย; Parichart Boueroy; ธิดาทิพย์ วงศ์สุรวัฒน์; Thidathip Wongsurawat; พิรุณ เจนเจริญพันธ์; Piroon Jenjaroenpun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      ในการศึกษาวิจัยนี้ได้ดำเนินการถอดรหัสจีโนมเชื้อ จำนวน 116 สายพันธุ์ แบ่งเป็นเชื้อ CRE ที่แยกได้จากคนที่ดื้อยาโคลิสติน หรือมียีนดื้อยาโคลิสตินชนิด mcr จำนวน 100 สายพันธุ์ และเชื้อ Enterobacterales ที่แยกได้จากสัตว์ ...
    • เภสัชพันธุศาสตร์ ในผู้ป่วยไทยที่ได้รับการปลูกถ่ายไต 

      ชาครีย์ กิติยากร, หม่อมหลวง; Chagriya Kitiyakara, M.L. (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12-28)
      การปลูกถ่ายไต (Kidney transplantation : KT) ช่วยยืดอายุผู้ป่วยไตวาย KT จำเป็นต้องใช้สารกดภูมิคุ้มกัน เช่น Tacrolimus (TAC) และ Mycophenolate mofetil (MMF) เพื่อป้องกันการปฏิเสธไตของผู้บริจาค ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการสูญเสียไต ...
    • เภสัชพันธุศาสตร์ของการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ทางผิวหนังชนิดรุนแรงจากยาที่เป็นสาเหตุหลักในประเทศไทย (ปีที่ 2) 

      นนทญา นาคคำ; Nontaya Nakkam; วิจิตรา ทัศนียกุล; Wichittra Tassaneeyakul; สมศักดิ์ เทียมเก่า; Somsak Tiamkao; ชลภัทร สุขเกษม; Chonlaphat Sukasem; ศิริมาศ กาญจนวาศ; Sirimas Kanjanawart; ปริญญา คนยัง; Parinya Konyoung; กันยารัตน์ แข้โส; Kanyarat Khaeso (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      อาการไม่พึงประสงค์ทางผิวหนังชนิดรุนแรงจากยา (Severe Cutaneous Adverse Drug Reactions, SCARs) จัดเป็นอาการไม่พึงประสงค์ที่มักไม่สัมพันธ์กับฤทธิ์หรือขนาดยา ซึ่งมีอันตรายรุนแรงถึงแก่ชีวิตได้ โดยยาที่เป็นปัญหาสำคัญอันดับต้นๆ ...
    • เภสัชพันธุศาสตร์ของยากลุ่ม Thiopurine ในผู้ป่วยเด็กมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดลิมโฟบลาสต์ 

      อภิชญา พวงเพ็ชร์; Apichaya Puangpetch; สามารถ ภคกษมา; Samart Pakakasama; ชลภัทร สุขเกษม; Chonlaphat Sukasem; อุษณรัสมิ์ อนุรัฐพันธ์; Usanarat Anurathapan; การันต์ ไพสุขศาสนติวัฒนา; Karan Paisooksantivatana; สุภาพร วิวัฒนากุล; Supaporn Wiwattanakul; ลลิตา สาธิตสมิตพงษ์; Lalita Sathitsamitphong; อังคณา วินัยชาติศักดิ์; Angkana Winaichatsak; ปิติ เตชะวิจิตร์; Piti Techavichit; ปิยะ รุจกิจยานนท์; Piya Rujkijyanont; อาณัฐชัย ม้ายอุเทศ; Arnatchai Maiuthed; ภัทรวิทย์ รักษ์ทอง; Pattarawit Rukthong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน Lymphoblastic (Acute Lymphoblastic Leukemia, ALL) เป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็กที่พบบ่อยที่สุด ซึ่งได้รับการวินิจฉัยในเด็ก คิดเป็นร้อยละ 25 ของมะเร็งทั้งหมดในเด็ก การรักษาโดยทั่วไปประกอบด้วย ...