Now showing items 1570-1589 of 2427

    • งานวิจัยเกี่ยวกับสุขภาพสตรีไทยระหว่างปี พ.ศ.2526-2537 

      ศิริพร จิรวัฒน์กุล; Siriporn Chirawatkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2539)
      Research on Thai Women's Health During 1993-1995This descriptive study. "Research on Thai Women's Health During 1993-1995" aims to collect and establish a database on women's health research conducted in Thai society and ...
    • งานวิจัยเพื่อการพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ 

      สุพัตรา ศรีวณิชชากร; กันยา บุญธรรม; ทัศนีย์ ญาณะ; ผการัตน์ ฤทธิ์ศรีบุญ; กฤษณา คำมูล; สุกัลยา คงสวัสดิ์ (สำนักงานวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2553-10)
    • จริยธรรมกับการพัฒนาการประเมินผลกระทบทางสุขภาพในกระบวนการนโยบายสาธารณะของสังคมไทย 

      สมบัติ เหสกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      บทความนี้มีวัตถุประสงค์ต้องการนำเสนอความคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการมีจริยธรรมทางนโยบายสาธารณะในการพัฒนา HIA ที่จะนำไปสู่การใช้ในกระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ (healthy public policy process)
    • จัดการความรู้ จัดการเครือข่าย : ข้อเสนอปฏิรูประบบและกลไกภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน 

      สุภาภรณ์ ปิติพร; Suphaporn Pitiporn; ดิสทัต โรจนาลักษณ์; กรกนก ลัธธนันท์; โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      การอภิปรายเกี่ยวกับกระบวนทัศน์ใหม่ด้านสุขภาพ ที่เกิดขึ้นในวงการสาธารณสุขโดยรวม และในหน่วยงาน องค์กร และบุคลากรที่ทํางานด้านภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ซึ่งมีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเป็นหน่วยงานหลักที่สนับสนุ ...
    • จากนโยบายสู่การปฏิบัติ : หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย พ.ศ. 2544-2547 

      สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      จากนโยบายสู่การปฏิบัติ : หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย พ.ศ. 2544-2547 ประกอบด้วย 7 บท ได้แก่ บทที่ 1. กระบวนการกําหนดนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า บทนี้จะวิเคราะห์กระบวนการกําหนดนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (Agenda ...
    • จากนโยบายสู่การปฏิบัติหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย 

      สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program (สำนักงาน, 2548)
    • จีโนมิกส์ของเชื้อ Methicillin-resistant Staphylococcus aureus สายพันธุ์ที่มีกำเนิดในโรงพยาบาล ชุมชน และปศุสัตว์ เพื่อการประยุกต์ใช้ทางการแพทย์และสาธารณสุข 

      อุษณีย์ วัฒนนันท์กุล; Usanee Wattananandkul; ศิริพงษ์ ตองใจ; Siripong Tongjai; ปาริชาติ สาลี; Parichat Salee; นงเยาว์ เกษตร์ภิบาล; Nongyao Kasatpibal; วสันต์ กาติ๊บ; Wasan Katip; หทัยรัตน์ ธนัญชัย; Hathairat Thananchai; ผดุงเกียรติ แข็มน้อย; Phadungkiat Khamnoi; ขจรศักดิ์ ตระกูลพัว; Khajornsak Tragoolpua; กัญญา ปรีชาศุทธิ์; Kanya Preechasuth (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      เชื้อ Methicillin-Resistant Staphylococcus Aureus (MRSA) เป็นหนึ่งในแบคทีเรียดื้อยาสำคัญ เนื่องจากมีความหลากหลายทางพันธุกรรมและระบาดวิทยาสูง พบได้ทั่วโลกและสามารถทำให้เกิดการติดเชื้อได้ทั้งในโรงพยาบาล ชุมชนและปศุสัตว์ ...
    • จีโนไทป์ของยีนเอชแอลเอคลาสหนึ่งและสองโดยเทคโนโลยีการวิเคราะห์ลำดับเบสแบบโมเลกุลเดี่ยวในผู้ป่วยไทยที่ได้รับการปลูกถ่ายไต 

      ยิ่งยศ อวิหิงสานนท์; Yingyos Avihingsanont; ปาจรีย์ จริยวิลาศกุล; Pajaree Chariyavilaskul; มนพัทธ์ ชำนาญพล; Monpat Chammanphon; สุวศิน อุดมกาญจนนันท์; Suwasin Udomkarnjananun; ณัฐวุฒิ โตวนำชัย; Natavudh Townamchai; เกื้อเกียรติ ประดิษฐ์พรศิลป์; Kearkiat Praditpornsilp; ณัฏฐิยา หิรัญกาญจน์; Nattiya Hirankarn; มนนัทธ์ พงษ์พานิช; Monnat Pongpanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      การปลูกถ่ายอวัยวะเป็นวิธีการรักษาที่ช่วยต่อชีวิตใหม่ให้แก่ผู้ป่วยที่หมดหวังที่จะรักษาด้วยวิธีการอื่นๆ เพื่อให้มีชีวิตอยู่ต่อไปได้ ไตเป็นอวัยวะที่มีการปลูกถ่ายมากที่สุดในประเทศไทยตลอดระยะเวลากว่า 50 ปีที่ผ่านมา ถึงแม้ว่าว ...
    • ฉากทัศน์อนาคตระบบสุขภาพไทยใน 10 ปีข้างหน้า 

      พงศธร พอกเพิ่มดี; Pongsadhorn Pokpermdee; นาฎอนงค์ เจริญสันติสุข; Nardanong Charoensuntisuk; เชาวรินทร์ คำหา; Chaowarin Khamha; โศรดากรณ์ พิมลา; Soradakorn Phimla; จุฑามาส พจน์สมพงษ์; Chuthamat Pojsompong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      การวิจัยเชิงอนาคตครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานการณ์และแนวโน้มของปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อระบบสุขภาพ 2) ศึกษาฉากทัศน์ความเป็นไปได้ของระบบสุขภาพในอีก 10 ปีข้างหน้า และ 3) สังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายด้านระบบสุขภา ...
    • ชายรักชาย 

      สุพร เกิดสว่าง; Suporn Koetsawang (สามเจริญพาณิชย์, 2546)
      หนังสือเรื่อง ชายรักชาย เล่มนี้ สำเสนอเรื่องนี้เพื่อให้สังคมเข้าใจชาย รักร่วมเพศ หรือ ชายรักชาย รวมทั้งให้ชายรักร่วมเพศเองเข้าใจตนเองดีขึ้น เพื่อให้สังคมเปลี่ยนจากสังคม Homophobia เป็นสังคมที่เข้าใจและยอมรับชายรักร่วมเพศ ...
    • ชีวิต สุขภาพ และ การเข้าถึงระบบสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบางในเมือง: การศึกษากลุ่มผู้สูงอายุที่เป็นแรงงานย้ายถิ่นในกรุงเทพมหานคร 

      ลือชัย ศรีเงินยวง; Luechai Sri-ngernyuang; วาศินี กลิ่นสมเชื้อ; Vasinee Klinsomchua (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)
      โครงการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนสถานการณ์ปัญหาด้านสุขภาพและการเข้าถึงระบบสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบางในเมืองในประเทศไทย และเพื่อศึกษาพัฒนาโจทย์วิจัยทางด้านสุขภาพ และการเข้าถึงระบบสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบางในเ ...
    • ชีวิตคู่(ไม่)รู้กัน 

      อรสม สุทธิสาคร; Orasom Suthisakorn (สารคดี, 2546)
      ครอบครัวเป็นแหล่งหล่อหลอมกล่อมเกลาและฟูมฟักให้ผู้คนพัฒนาทักษะทางสังคมและจิตวิญญาณ เป็นฐานรากสำหรับก่อสร้างรูปลักษณ์ของคนในสังคมรุ่นต่อๆ ไป งานวิจัยนี้เจาะลึกถึงอดีตที่บ่มเพาะจิตใจและทัศนะทางสังคมของคนจริงๆ ในสังคม ...
    • ชีวิตและสุขภาพของเด็กต่างด้าวและการเข้าถึงบริการสาธารณสุข 

      ชุติมา พัฒนพงศ์; Chutima Pattanapong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)
      โครงการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ปัญหา สาเหตุและแนวทางการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงสังคม มีเป้าหมายในการสร้างสังคมแห่งการเกื้อกูล ไม่ทอดทิ้งกัน โดยผ่านชุดการวิจัยเกี่ยวกับกลุ่มเป้าหมาย ...
    • ชุดความรู้ที่สัมพันธ์กับมิติจิตวิญญาณ (Spiritual dimension) ที่เกี่ยวข้องกับทางสุขภาพ 

      วิชัย โชควิวัฒน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      มีความพยายามเสนอให้เพิ่ม “สุขภาวะทางวิญญาณ” เข้าในคำจำกัดความคำว่าสุขภาพขององค์การอนามัยโลกอย่างเป็นทางการ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2526 โดยสมาชิกจากประเทศในภูมิภาคเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก ข้อเสนอดังกล่าวมีทั้งผู้สนับสนุนและคัดค้าน ...
    • ชุดเครื่องมือวัดความเป็นธรรมเพื่อประเมินผลการปฏิรูประบบสุขภาพไทย 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawats; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      ชุดเครื่องมือวัดความเป็นธรรมเพื่อประเมินผลการปฏิรูประบบสุขภาพไทย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบการนำเครื่องมือนี้ไปใช้ในการประเมินผลการปฏิรูประบบสาธารณสุขของจังหวัดภายใต้โครงการปฏิรูประบบสาธารณสุขที่ได้รับการสนับสนุ ...
    • ชุมชนกับการคัดกรองโรคเบาหวาน 

      รัชฏาพร รุญเจริญ; Ratchadaporn Runcharoen; อนุพันธ์ สุวรรณพันธ์; จำนันต์ ผิวละออ; ประนอม พริยานนท์; ภัทรพล คันศร; เลียง อุปมัย; ธีรพล เศรษฐศรี; แจ่มจันทร์ ศรีนัตน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      มาตรการหนึ่งที่ใช้ในการควบคุมโรคเบาหวานคือ การตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ณ สถานบริการสุขภาพ จากจำนวนผู้ป่วยที่มีรายงานต่ำกว่าพื้นที่อื่นๆ ของหมู่บ้านสนามแจ้ง ตำบลไพร อำเภอขุนหาญ โรงพยาบาลขุนหาญจึงได้ทำการศึกษาการมีส่วนร่วมของ ...
    • ชุมชนกับการปกครองชีวญาณ : กลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีในภาคเหนือของประเทศไทย 

      ทานาเบ, ชิเกฮารุ; Tanabe, Shikeharu (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      หนังสือเล่มนี้ เป็นการศึกษาทางด้านมานุษยวิทยา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจกับความพยายามในการดำรงไว้ซึ่งการมีชีวิตและสุขภาพที่ดีของตนเองเมื่อต้องเผชิญกับความเจ็บป่วยและความทุกข์ภายใต้สถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงของร ...
    • ชุมชนกับการใช้สารเคมีในภาคการเกษตร 

      วิเชียร อันประเสริฐ; Wichean Unprasert (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การศึกษาเรื่องชุมชนกับการใช้สารเคมีในภาคการเกษตรครั้งนี้ เป็นงานศึกษาโดยใช้วิธีการสืบคืนข้อมูลจากการพูดคุยกับชาวบ้านในฐานะที่เป็นเกษตรกรที่ทำการผลิตในระดับชุมชน โดยเน้นไปที่เกษตรกรในฐานะผู้ใช้สารเคมี การศึกษาครั้งนี้เป็น ...
    • ชุมชนร่วมสร้างสุขภาพเด็ก 0-12 ปี บ้านน้ำคา หมู่ที่ 1 ตำบลพญาแก้ว อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน 

      กิติศักดิ์ เกษตรสินสมบัติ; Kittisak Khasetsinsombat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      โครงการวิจัยชุมชนร่วมสร้างสุขภาพเด็ก 0-12 ปี หมู่บ้านน้ำคา หมู่ที่ 1 ตำบลพญาแก้ว อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน มีวัตถุประสงค์ 4 ประการ คือ 1. เพื่อแก้ไขปัญหาภาวะเด็กขาดสารอาหาร ในเด็ก 0 – 5 ปี ของบ้านน้ำคา ระดับ 1 ไม่เกินร้อยละ ...
    • ช่องว่างในการเข้าถึงบริการจิตเวชและภาระทางเศรษฐศาสตร์ ปีที่ 2 

      ตะวันชัย จิรประมุขพิทักษ์; Tawanchai Jirapramukpitak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562)
      วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเปรียบเทียบผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์และสังคมจากการป่วยทางจิตเวชเรื้อรังระหว่างผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาแต่เนิ่นๆ และรักษาล่าช้า ระหว่างผู้ที่ป่วยตั้งแต่อายุน้อยและอายุมากและระหว่างผู้ที่ป่วยมานานและไม่นาน ...