• การศึกษาพันธุกรรมของภาวะค่าสายตาผิดปกติมากในเด็กในประเทศไทย 

      ณัฐสุชา หวังถิรอำนวย; Nutsuchar Wangtiraumnuay (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-03)
      บทนำ ภาวะสายตาผิดปกติขั้นรุนแรงในเด็ก เช่น สายตาสั้นมาก (High Myopia) และสายตายาวมาก (High Hyperopia) เป็นปัญหาสำคัญทางสุขภาพตาที่อาจนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนร้ายแรง เช่น ต้อหิน จอตาเสื่อม และภาวะตาบอดถาวร งานวิจัยนี้มุ่งศึกษา ...
    • การศึกษาพันธุกรรมและระดับการเติมหมู่เมธิลในดีเอ็นเอกับความสัมพันธ์ของการพบรอยโรคมะเร็งทวารหนัก 

      อุทัยวรรณ อุทัยพัฒน์; Utaiwan Utaipat; สุมาลี ศิริอังกูร; Sumalee Siriaungkul; อมราภรณ์ ฤกษ์เกษม; Amaraporn Rerkasem; ศิริพงษ์ ตองใจ; Siripong Tongjai; ปทุมรัตน์ ศรีพันธ์; Patumrat Sripan; ผ่องพรรณ เสาร์เขียว; Pongpun Saokhieo (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-11)
      การศึกษานี้ต้องการศึกษาการเติมหมู่เมธิลในดีเอนเอ (DNA Methylation) ในสิ่งส่งตรวจเซลล์จากทวารหนักในประชากรชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย (men who have sex with men, MSM) ซึ่งเป็นผู้ที่มีความเสี่ยงมะเร็งทวารหนักจากการติดเชื้อไวรัสเอชพีวี ...
    • การศึกษาภาพรวมและผลกระทบทางด้านจริยธรรมกับโครงการ 30 บาท รักษาทุกโรค 

      คณะอนุกรรมการพิจารณาศึกษาภาพรวมและผลกระทบด้านจริยธรรมเกี่ยวกับโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค; แพทยสภา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาพรวมและผลกระทบทางด้านจริยธรรมของแพทย์เกี่ยวกับโครงการ 30 บาท รักษาทุกโรค เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาพิจารณาวิเคราะห์และสังเคราะห์ให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องและรับผิดชอบได้ทราบอันจะนำไปใช้ให้เป็น ...
    • การศึกษาภาพอนาคตและเส้นทางสู่หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่ยั่งยืนของประเทศไทย 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; นเรศ ดํารงชัย; ปวรภัส โพธิสุข; โสภิดา ทองโสภิต; พลพิบูล สตางค์พุฒิ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-11)
      จากการทบทวนสถานการณ์ในระบบหลักประกันสุขภาพของไทยพบว่าประเทศไทยประสบความสําเร็จในการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้แก่ประชาชนอย่างดีในระดับหนึ่ง หากพิจารณาผลสัมฤทธิ์เชิงนโยบายพบว่าในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา นโยบายการขยายหลักประ ...
    • การศึกษาภารกิจ อบต. และความเข้มแข็งของประชาคมตำบล ในการจัดการกับปัญหาสุขภาพชุมชนระดับตำบล 

      โกวิท พวงงาม; Kowit Puang-ngam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การศึกษาภารกิจองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) และความเข้มแข็งของประชาคมตำบลในการจัดการกับปัญหาสุขภาพชุมชนระดับตำบล มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการสำรวจโครงการหรือกิจกรรมในแผนพัฒนาตำบล 5 ปี ของ อบต. โดยเฉพาะแผนพัฒนาตำบลประจำปี ...
    • การศึกษาภาระงานและผลิตภาพกำลังคนในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee; Benjaporn Rajataram; กมลนัทธ์ ม่วงยิ้ม; Kamolnut Muangyim; อติญาณ์ ศรเกษตริน; Atiya Sarakshetrin; รุ่งนภา จันทรา; Rungnapa Chantra; วิริยา โพธิ์ขวาง-ยุสท์; Wiriya Phokhwang-Just; ศุทธินี วัฒนกูล; Suttini Wattanakul; ดาราวรรณ รองเมือง; Daravan Rongmuang; ศรีจันทร์ พลับจั่น; Srijan Pupjain; สุทธานันท์ กัลกะ; Suthanan Kunlaka; เบญจพร รัชตารมย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบผสมโดยทำการศึกษาทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาระงานและปัจจัยกำหนดผลิตภาพ 2) ศึกษาความสอดคล้องของภาระงานกับอัตรากำลังบุคลากรที่มี และ3) สังเคราะห์ข้อเสนอเช ...
    • การศึกษาภาวะพหุสัณฐานของนิวคลีโอไทด์เดี่ยวที่พบบ่อยในผู้ป่วยโรคเรื้อรังของประเทศไทยโดยใช้ชิป 

      ทัศมลวรรณ ไชยสังข์; Tassamonwan Chaiyasung; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; ปุณณา คุณหพันธ์; Punna Kunhapan; จักรกฤษณ์ เอื้อสุนทรวัฒนา; Jakris Eu-ahsunthornwattana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)
      การศึกษาภาวะพหุสัณฐานของนิวคลีโอไทด์เดี่ยวที่พบบ่อยในผู้ป่วยโรคเรื้อรังของประเทศไทยโดยใช้ชิป เป็นโครงการที่ดำเนินการศึกษาในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 1,800 ตัวอย่าง โดยในปีที่ 1 รับตัวอย่างจาก 4 โครงการ เพื่อดำเนินการ ...
    • การศึกษาภูมิคุ้มกันโควิด-19 ในชุมชนจังหวัดปัตตานี 

      วิพุธ พูลเจริญ; Wiput Phoolcharoen; ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา; Thiravat Hemachudha; อรัญ รอกา; Aran Roka; นินี สุไลมาน; Ninee Sulaiman; ณัฐวุฒิ ทองคง; Nattawut Thongkong; ฮาเซ็ม บีมา; Hasem Beema (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)
      การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 จากเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 เริ่มเข้าสู่ประเทศไทยในต้นปี 2563 และแพร่กระจายเป็นภัยคุกคามโลกอย่างกว้างขวาง (Pandemic) มีผู้ป่วยใน 2 ปี มากกว่า 500 ล้านคน และเสียชีวิตกว่า 6 ล้านคน ทุกประเทศต้องประก ...
    • การศึกษาภูมิคุ้มกันโรคคอตีบจากเชื้อ Corynebacterium diphtheriae ไอกรนจากเชื้อ Bordetella pertussis และบาดทะยักจากเชื้อ Clostidium tetani 

      สุดา ลุยศิริโรจนกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559)
      วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาภูมิคุ้มกันโรคคอตีบจากเชื้อ Corynebacterium diphtheriae, ไอกรนจากเชื้อ Bordetella pertussis และบาดทะยักจากเชื้อ Clostidium tetani ในประเทศไทย วิธีการวิจัย ในขั้นตอนแรกประเมินประสิทธิภาพของชุดตรวจแ ...
    • การศึกษาภูมิคุ้มกันในผู้ที่หายและผู้ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อจากโรคโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ (โควิด-19) 

      ปกรัฐ หังสสูต; Pokrath Hansasuta; ภาวพันธ์ ภัทรโกศล; Parvapan Bhattarakosol; เอกสิทธิ์ โกวิทย์ดำรงค์; Ekasit Kowitdamrong; ญาดา ตันสิริ; Yada Tansiri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      เนื่องจากยังไม่มีการศึกษาวิจัยในประเทศไทยถึงการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ SARS-CoV-2 ในผู้กำลังติดเชื้อโรค COVID-19 และผู้ใกล้ชิดที่มีความเสี่ยงสูง งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ในการศึกษาการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันผ่านการสร้างแอนติบอดี ...
    • การศึกษาภูมิปัญญาสุขภาพ เรื่อง ความรู้ท้องถิ่นและวัฒนธรรมสุขภาพกับสังคมอาเซียน 

      เทพินทร์ พัชรานุรักษ์; Thapin Phatcharanuruk; ทวีศักดิ์ เผือกสม; Davisakd Puaksom; เสถียร ฉันทะ; Satian Chunta; บุษบงก์ วิเศษพลชัย; สุรสม กฤษณะจูฑะ; Surasom Krisnachuta; อรัญญา ศิริผล; Aranya Siriphon; ฆัสรา มุกดาวิจิตร; Bussabong Wisetpholchai; Khatsara Khamawan Mukdawichit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      โครงการนี้ริเริ่มขึ้นเพื่อจัดทำหนังสือเล่มหนึ่ง ที่เรียกว่า Introductory Book เป็นหนังสือเล่มแรกๆ ที่จะให้ความรู้ความเข้าใจอย่างที่ไม่สามารถหาอ่านได้จากเล่มอื่น เป็นเรื่องเกี่ยวกับสุขภาพและการแพทย์ในมิติทางสังคมวัฒนธรรม ...
    • การศึกษามิติทางสุขภาพกับการพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม 

      สมบัติ เหสกุล(แซ่แฮ่); Sombat Hesakul; ผการัตน์ เพ็งสวัสดิ์; อัครพงษ์ อั้นทอง; พัฒนา ราชวงศ์; กัมปะนาท ปิยะธำรงชัย; ขนิษฐา มาน้อย; ปรัชญา วงศ์ธนบัตร; พันธ์ณรงค์ จันทร์แสงศรี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การศึกษามิติทางสุขภาพกับการพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม (small and medium scale industry: SMIs) มีวัตถุประสงค์การศึกษา 4 ประการ คือ 1. เพื่อทบทวนสถานการณ์และแนวโน้มการพัฒนา SMIs ของประเทศในด้านการผลิต การจ้างแรงงาน ...
    • การศึกษาระดับภูมิคุ้มกันของวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ขนาดมาตรฐานหนึ่งเข็ม เทียบกับ ขนาดมาตรฐานสองเข็ม ในผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง 

      บุญรัตน์ ทัศนีย์ไตรเทพ; Boonrat Tassaneetrithep; อังสนา ภู่เผือกรัตน์; Angsana Phuphuakrat; อาคม นงนุช; Arkom Nongnuch; ศรินยา บุญเกิด; Sarinya Boongird; ปิยะธิดา จึงสมาน; Piyatida Chuengsaman (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      ความสำคัญและที่มา : การให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่กับผู้ป่วยไตเรื้อรังเป็นมาตรการสำคัญในการลดโอกาสการติดเชื้อและลดภาวะแทรกซ้อนหรืออัตราการเสียชีวิตที่เกิดจากการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ เนื่องด้วยผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังมีการทำงานของร ...
    • การศึกษาระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคไวรัสตับอักเสบ เอ บี ซี หัด หัดเยอรมัน คางทูม สุกใส คอตีบ บาดทะยัก และไอกรน ในประชากรจังหวัดชลบุรี 

      ณศมน วรรณลภากร; Nasamon Wanlapakorn; อภิรัต กตัญญุตานนท์; Apirat Katanyutanon; วิชัย ธนาโสภณ; Wichai Thanasopon; วิชาญ บุญกิติกร; Wichan Bhunyakitikorn; ชนินันท์ สนธิไชย; Chaninan Sonthichai; ปิยดา อังศุวัชรากร; Piyada Angsuwatcharakon; ปรางณพิชญ์ วิหารทอง; Prangtip Wihanthong; หนึ่งฤทัย สุนทรวงศ์; Nungruthai Suntronwong; ฤทธิเดช ยอแสง; Ritthideach Yorsaeng (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)
      วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนที่มีในแผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน (Expanded Program on Immunization, EPI) ได้แก่ โรคไวรัสตับอักเสบ บี หัด หัดเยอรมัน คางทูม คอตีบ บาดทะยัก ไอกรน ...
    • การศึกษาระบบ-ระเบียบการจัดซื้อยาของโรงพยาบาลรัฐบาล ระยะเวลา : กรกฎาคม 2549-สิงหาคม 2550 

      เสาวคนธ์ รัตนวิจิตราศิลป์; ศนิตา หิรัญรัศมี; จิราภรณ์ อุษณกรกุล; ภูรี อนันตโชติ; ชมภูนุช สุคนธวารี; สุธีรา เตชคุณวุฒิ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การจัดซื้อยาเป็นไปตามระเบียบจัดซื้อพัสดุซึ่งประกาศใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2535 ซึ่งเป็นแนวทางสำหรับให้การจัดซื้อจัดหายาของโรงพยาบาลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คือ ได้ยาที่มีคุณภาพดี ราคาเหมาะสม ทันเวลา และโปร่งใส ตรวจสอบได้ ...
    • การศึกษาระบบข้อมูลทางด้านอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม 

      สมเกียติ ศิริรัตนพฤกษ์; เพ็ญศรี อนันตกุลนธี; พิบูล อิสสระพันธุ์ (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2552-07)
      โครงการการศึกษาระบบข้อมูลทางด้านอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมเป็นโครงการหนึ่งในแผนงานโครงการพัฒนาระบบข้อมูลทางด้านอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะทบทวนองค์ความรู้และศึกษาสถานการณ์ระบบข้อมูลทางด้านอาชีว ...
    • การศึกษาระบบบริการสุขภาพด้านการใช้ยาในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในระดับปฏิบัติการในมุมมองของผู้ให้บริการและผู้รับบริการ 

      อุไรวรรณ ชัยชนะวิโรจน์; Uraiwan Chaichanawirote; ยุวยงค์ จันทรวิจิตร; Yuwayong Juntarawijit; ณิชกานต์ ทรงไทย; Nichakarn Songthai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      ความร่วมมือในการรักษาด้วยยามีความสำคัญต่อการควบคุมการดำเนินโรคของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง การส่งเสริมความร่วมมือในระดับปฏิบัติการเป็นกลไกสำคัญของการรักษาและการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้ป่วย การวิจัยนี้ใช้วิธีการวิจัยแบบผส ...
    • การศึกษาระบบบริหารจัดการโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์โควิด-19: กรณีศึกษาโรงพยาบาลบุษราคัม 

      อภิรดี นันท์ศุภวัฒน์; Apiradee Nantsupawat; อรอนงค์ วิชัยคำ; Orn-Anong Wichaikhum; กุลวดี อภิชาติบุตร; Kulwadee Abhicharttibutra; ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์; Thitinut Akkadechanunt; คัทลียา ศิริภัทรากูร แสนหลวง; Cattaliya Siripattarakul Sanluang; เกศราภรณ์ อุดกันทา; Kedsaraporn Udkunta (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05-06)
      โรงพยาบาลบุษราคัมเป็นโรงพยาบาลสนามขนาดใหญ่เฉพาะด้านในการดูแลผู้ป่วยโควิด-19 ชั่วคราวที่มีความทันสมัยในการดูแลผู้ป่วยครบวงจร ทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต ตามมาตรฐานการรักษา รวมทั้งระบบการส่งต่อ อย่างไรก็ตามการศึกษาระบบบริหาร ...
    • การศึกษาระบบประเมินและระบบการบริหารจัดการ ความเสี่ยงต่อสุขภาพในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด 

      ธีชัช บุญญะการกุล; Thechuch Bunyakankul; อำพรรณ จารุรัตน์; วัฒนา เกตุมงคลฉวี; อุดมลักษณ์ ศรีทัศนีย์; รัชนี ไผทสิทธิ์; กรมอนามัย. สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การศึกษาระบบประเมินและระบบการบริหารจัดการความเสี่ยงต่อสุขภาพในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด รายงานการศึกษาครั้งนี้ เป็นรายงานการศึกษาการจัดการสุขภาพและสิ่งแวดล้อมเชิงคุณภาพ เพื่ออธิบายบทบาทหน้าที่ขององค์กรในประเทศและต่าง ...
    • การศึกษาระบบสุขภาพแบบพื้นบ้านและระบบสุขภาพแบบประชาชนเพื่อการส่งเสริมสุขภาพสตรีวัยกลางคนในชุมชนล้านนา 

      อวยพร ตัณมุขยกุล; Auyporn Tanmukayakul; ชวพรพรรณ จันทร์ประสิทธิ์; สุจิตรา เทียนสวัสดิ์; วารุณี ฟองแก้ว (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบสุขภาพแบบพื้นบ้านและระบบสุขภาพแบบสามัญชนเพื่อการส่งเสริมสุขภาพสตรีวัยกลางคนในชุมชนล้านนา ทำการศึกษาในชุมชนเขตเมือง กึ่งเขตเมืองกึ่งชนบท และในเขตชนบทอย่างละ 1 แห่ง ...