• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1184-1203 จาก 2486

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • การศึกษาหารหัสพันธุกรรมที่มีความสัมพันธ์กับการติดกัญชาในกลุ่มประชากรไทย 

      พีรนิธ กันตะบุตร; Piranit Kantaputra; ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา; Thiravat Hemachudha; สรายุทธ์ บุญชัยพานิชวัฒนา; Sarayuth Boonchaipanitwattana; ล่ำซำ ลักขณาภิชนชัช; Lumsum Lukanapichonchut; สมชาย ธนะสิทธิชัย; Somchai Thanasitthichai; สำเนา นิลบรรพ์; Sumnao Nilaban; ธนพัฒน์ ศาสตระรุจิ; Thanapat Sastraruji; อลิษา วิลันโท; Alisa Wilantho; ชุมพล งามผิว; Chumpol Ngamphiw; วอทันยู นครศรี; Vorthunju Nakhonsri; ศิษเฎศ ทองสิมา; Sissades Tongsima (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      จุดประสงค์ของการวิจัย คือ ต้องการหาการเปลี่ยนแปลงในยีนที่มีความสัมพันธ์กับการติดกัญชาในคนไทย โดยศึกษาในคนไทยที่ติดกัญชา จำนวน 144 คน และคนที่มีประวัติการใช้กัญชาแต่ไม่ติด จำนวน 20 คน ซักประวัติและเก็บเลือดหรือน้ำลายเพื่อไปสกัด ...
    • การศึกษาองค์ความรู้การสังคายนาตำราการแพทย์แผนไทยด้านตำราหัตถศาสตร์ศิลาจารึกวัดโพธิ์ 

      ศิริมงคล ตอบงาม; Sirimongkol Tobngam; ปณิตา ถนอมวงษ์; กาญจนา การะเวก; ภารดี ถนอมใจ; ภัทรวดี ทนุผล; ฐิติมา สุปริยศิลป์; องอาจ สินสมบูรณ์; จุฑารัตน์ ทะวาแสน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      งานวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาองค์ความรู้ การสังคายนาด้านตำราการแพทย์แผนไทยด้านตำราหัตถศาสตร์ศิลาจารึกวัดโพธิ์ โดยมีวัถตุประสงค์เพื่อ 1)เพื่อรวบรวมองค์ความรู้เรื่องตำราหัตถศาสตร์ การนวดแก้โรคต่างๆ ตามศิลาจารึกวัดโพธิ์ 2) ...
    • การศึกษาองค์ความรู้ด้านการเสริมสร้างพลังผู้บริโภคในต่างประเทศ 

      วิไลลักษณ์ อยู่สำราญ; Wilailak Yoosamram; ณัฐจรี สุวรรณภัฎ; รุ่งนภา เทพภาพ; ชัชวาล เทียมถนอม; Natcharee Suwannaput; Rungnapa Tappap; Chatchawal Tiemthanom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ รวมทั้ง แนวคิด หลักการ ปรัชญา ตลอดจนแนวทางการทำงาน เครื่องมือ เทคนิค และเงื่อนไขที่ส่งเสริม ข้อจำกัดของการดำเนินงานด้านการเสริมสร้างพลังผู้บริโภคในต่างประเทศ ...
    • การศึกษาองค์ความรู้ด้านการแปลผลการศึกษาวิจัยสุขภาพไปสู่การปฏิบัติระดับนโยบายสาธารณะ 

      ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์; ธีระ วรธนารัตน์; Patarawan Woratanarat; Thira Woratanarat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-04-10)
      กระแสโลกาภิวัฒน์ในรอบสองทศวรรษที่ผ่านมาก่อให้เกิดผลกระทบต่อการพัฒนาของสังคมโลกอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังจะเห็นได้จากการเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆ ในประเทศ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และเทคโนโลยี รวมไปถึงระบบสาธารณสุข ...
    • การศึกษาอนาคตระบบสุขภาพช่องปากไทย 

      แพร จิตตินันทน์; Phaer Chaitinun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การศึกษาอนาคตระบบสุขภาพช่องปากไทยศึกษาโดยใช้เทคนิคการศึกษาภาพอนาคต forsight study นักวิจัยซึ่งประกอบด้วยทันตบุคลากร และนักวิจัยระบบจากหลายภาคส่วน ได้ร่วมกันเก็บข้อมูลปฐมภูมิ สืบค้นและสอบถามข้อมูลทุตยภูมิจากประชาชนและผู้เกี่ยวข้อง ...
    • การศึกษาอัตราการเสียชีวิต และภาวะแทรกซ้อนทางวิสัญญีจากการรายงานอุบัติการณ์ในประเทศไทย 

      สมรัตน์ จารุลักษณานันท์; Somrat Charuluxananan; ยอดยิ่ง ปัญจสวัสดิ์วงศ์; Yodying Punjasawadwong; ศิริพร ปิติมานะอารี; Siriporn Pitimana-aree; เทวารักษ์ วีระวัฒกานนท์; Thewarug Werawatganon; วรินี เล็กประเสริฐ; Varinee Lekprasert; ศศิกานต์ นิมมานรัชต์; Sasikaan Nimmaanrat; อักษร พูลนิติพร; Aksorn Pulnitiporn; วรวุธ ลาภพิเศษพันธุ์; Worawut Lapisatepun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      ความปลอดภัยทางวิสัญญีวิทยาและศัลยกรรม อาจทำได้โดยการเฝ้าระวังและวิเคราะห์ภาวะแทรกซ้อนที่เกี่ยวข้อง คณะผู้ทำการศึกษาจึงได้ทำโครงการวิจัยภาวะแทรกซ้อนตั้งแต่ช่วงก่อน ระหว่าง และภายหลังการให้ยาระงับความรู้สึกและการผ่าตัดในประเทศไทย ...
    • การศึกษาอาการไม่พึงประสงค์และความไม่ปลอดภัย ภายหลังการรับวัคซีนป้องกันโควิด-19 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุ : กรณีศึกษาโรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย 

      พูลสุข เจนพานิชย์ วิสุทธิพันธ์; Poolsuk Janepanish Visudtibhan; แสงทอง ธีระทองคำ; Sangthong Terathongkum; จิราพร ไลนิงเกอร์; Jiraporn Lininger; วนาพรรณ ชื่นอิ่ม; Wanaphan Chuen-im; พลอยแก้ว จารุวร; Ploykaew Jaruworn; สุนันท์ วงศ์วิศวะกร; Sunun Wongvisavakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      การศึกษาวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอาการไม่พึงประสงค์และเปรียบเทียบการมีอาการไม่พึงประสงค์กับชนิดของวัคซีนป้องกันโควิด-19 กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค และผู้สูงอายุที่มารับวัคซีนป้องกันโควิด-19 ...
    • การศึกษาอุบัติการณ์ของการเกิดวัณโรคในผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีซีดีสี่ที่ต่างกันหลังได้รับยาต้านไวรัสและนวัตกรรมการอ่านผลการทดสอบทูเบอร์คูลินทางผิวหนังด้วยตัวเองเพื่อคัดกรองหาวัณโรคแฝงในผู้ป่วยเอชไอวี 

      กำพล สุวรรณพิมลกุล; Gompol Suwanpimolkul; กมล แก้วกิติณรงค์; Kamon Kawkitinarong; ศิวะพร เกตุจุมพล; Sivaporn Gatechompol; อัญชลี อวิหิงสานนท์; Anchalee Avihingsanon; วรรษมน จันทรเบญจกุล; Watsamon Jantarabenjakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06)
      บทนำ: การให้ยารักษาวัณโรคระยะแฝงในผู้ป่วยเอชไอวีในประเทศไทยยังไม่ได้มีการใช้อย่างแพร่หลายน่าจะเกิดจากสาเหตุหลายปัจจัย แต่หนึ่งในปัจจัยที่สำคัญที่สุด คือ แพทย์ส่วนใหญ่คิดว่า การให้ยาต้านไวรัสเพียงอย่างเดียวจะสามารถลดอุบัต ...
    • การศึกษาอุบัติการณ์และการตายจากอุบัติเหตุการจราจร ในจังหวัดตรัง ปี2536 

      วิภา ลุ้งบ้าน; Wipha Lungban; มณฑา คันฉ่อง; พัชนี ด่านวณิช; อนันต์ ชูหอยทอง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2536)
      การศึกษาอุบัติการณ์และการตายจากอุบัติเหตุการจราจรในจังหวัดตรัง ปี2536 การศึกษาอัตราอุบัติการณ์และการตายจากอุบัติเหตุจราจรทางบกในจังหวัดตรัง เพื่อศึกษาลักษณะการเกิดอุบัติเหตุทางระบาดวิทยาเกี่ยวกับบุคคล เวลา สถานที่ ...
    • การศึกษาเครือข่ายอาหารปลอดภัยในโรงพยาบาล 

      ยรรยงค์ อินทร์ม่วง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การวิจัยเชิงคุณภาพเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาการและเครือข่ายอาหารปลอดภัยในโรงพยาบาล กระบวนการพัฒนาอาหารปลอดภัยในโรงพยาบาลและปัจจัยเกื้อหนุนที่ทำให้การพัฒนาอาหารปลอดภัยในโรงพยาบาลประสบผลสำเร็จและปัจจัยที่เป็นข้อจำกัด ...
    • การศึกษาเครื่องชี้วัดคนไทยสุขภาพดี 

      พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์; Porapan Punyaratabandhu; อังสนา บุญธรรม; มันทนา ประทีปะเสน; ชนินทร์ เจริญกุล; กุลยา นาคสวัสดิ์; ชลีรัตน์ ดิเรกวัฒนชัย; Angsana Boonthum; Mantana Pratipasen; Chanin Chareonkul; Kulaya Narksawat; Chalerat Direkwatanachai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การศึกษาเพื่อพัฒนาเครื่องชี้วัดคนไทยสุขภาพดี มีวัตถุประสงค์ที่สำคัญคือการสร้างภาพลักษณ์ของคนไทยที่มีสุขภาพดีพร้อมทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม และพฤติกรรมที่จะนำไปสู่การมีสุขภาวะในช่วงอายุต่อๆไปด้วยรวมทั้งการพัฒนาเครื่องชี้วัด ...
    • การศึกษาเชิงนโยบายการสร้างนักสื่อสารสุขภาพและระบบการสื่อสารสุขภาพแห่งชาติ 

      มาลี บุญศิริพันธ์; Maree Bunsiriphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      การศึกษาเชิงนโยบายการสร้างนักสื่อสารสุขภาพและระบบการสื่อสารสุขภาพแห่งชาติ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนานักสื่อสารสุขภาพและสร้างข้อเสนอระบบการสื่อสารสุขภาพที่เหมาะสมกับสังคมไทย โดยใช้วิธีการวิจัยเอกสารจากภายในและต่างประเทศ ...
    • การศึกษาเชิงนโยบายใน 10 ปีข้างหน้าต่อการเข้าถึงการบริการสุขภาพของผู้สูงอายุ จังหวัดปทุมธานี ในสถานการณ์ระบาดของโควิด-19 ระลอก 5 

      ลภัสรดา หนุ่มคำ; Lapatrada Numkham; กิตติยาภรณ์ โชคสวัสดิ์ภิญโญ; Kittiyaporn Choksawadphinyo; กันตาภัทร บุญวรรณ; Kantapat Boonwan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ส่งผลกับการให้บริการของสถานพยาบาลทุกระดับ มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบในการบริการ ผู้สูงอายุมีการรับรู้ที่จำกัดเกี่ยวกับระบบริการสุขภาพ และเมื่อเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ...
    • การศึกษาเปรียบเทียบ การสร้างเกณฑ์มาตรฐานในการรักษาพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุ โรงพยาบาลขอนแก่น 

      วิทยา ชาติบัญชาชัย; Witaya Chadbanchachai; สุรชัย สราญฤทธิชัย; สุนันทา ศิริวัฒน์; จิราวดี ชุมศรี; ศิริกุล กุลเลียบ; Surachai Saranrittichai; Sunanta Sriwiwat; Jirawadee Chumsri; Sirikul Kulleub (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      The Comparative Study for Quality of Trauma Treatment Before and After the Revision of Trauma Audit, Khon Kaen HospitalsDuring 1994 – 1995, the preventable death rate of the Khon-Kaen Hospital dropped from 3.2% to 2.7%. ...
    • การศึกษาเปรียบเทียบความปลอดภัยและผลภูมิต้านทานหลังได้รับวัคซีนโควิด-19 ชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ 2 ครั้ง และการให้วัคซีนเชื้อตายตามด้วยวัคซีนชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอในเด็กอายุ 5 ถึง 11 ปี 

      ณศมน วรรณลภากร; Nasamon Wanlapakorn; ยง ภู่วรวรรณ; Yong Poovorawan; ณัฐินี สุทธินรเศรษฐ์; Natthinee Sudhinaraset; สิทธิชัย กนกอุดม; Sitthichai Kanokudom; หนึ่งฤทัย สุนทรวงศ์; Nungruthai Suntronwong; จิระ จันทร์แสนโรจน์; Jira Chansaenroj; ฤทธิเดช ยอแสง; Ritthideach Yorsaeng; ทักษพร ทัศนาธร; Thaksaporn Thatsanatorn; ดลชิดา ศรีเหมือน; Donchida Srimuan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบความปลอดภัยและผลภูมิต้านทานหลังได้รับวัคซีนโควิด-19 ชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ 2 เข็ม และการให้วัคซีนเชื้อตาย 1 หรือ 2 เข็ม และตามด้วยวัคซีนชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอในเด็กอายุ 5 ถึง 11 ปี วิธีการศึกษา: ...
    • การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการลดอัตราการติดเชื้อที่แผลผ่าตัดของการเย็บแผลในภายหลังเทียบกับการเย็บแผลทันทีในผู้ป่วยไส้ติ่งอักเสบที่มีเนื้อตายหรือแตกทะลุ 

      บุญยิ่ง ศิริบำรุงวงศ์; อนุวัชช์ จันทร์ทิพย์; พินิจ หนูฤทธิ์; วินัย อึงพินิจพงศ์; ปรัชญา โชติยะ; จุมพล วิลาศรัศมี; อัมรินทร์ ทักขิญเสถียร; บวรศม ลีระพันธ์; ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์; Attia, John (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-08)
      การศึกษานี้จัดทำเพื่อศึกษาเปรียบเทียบอัตราการติดเชื้อที่แผลผ่าตัดระหว่างการเย็บปิดแผลทันทีและการเย็บปิดแผลในภายหลังในผู้ป่วยไส้ติ่งอักเสบที่มีเนื้อตายหรือแตกทะลุ โดยเป็นการศึกษาแบบสุ่มแบบสหสถาบันในผู้ป่วยไส้ติ่งอักเสบที่ ...
    • การศึกษาเปรียบเทียบผลของการแก้ปัญหาการใช้ยาโดยเภสัชกรโรงพยาบาลชุมชนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงก่อนและหลังผู้ป่วยพบแพทย์ 

      โพยม วงศ์ภูวรักษ์; Payoom Wongpuwaruk; ฐิติมา ด้วงเงิน; ชูศรี รัดแก้ว; จันทร์จิราภรณ์ เจริญวงศ์; สุนิตย์ คำหล้า (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของรูปแบบการแก้ปัญหาการใช้ยาในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงโดยเภสัชกรโรงพยาบาลชุมชนก่อนและหลังผู้ป่วยพบแพทย์ โดยทำการศึกษาแบบ control-group time series design กลุ่มผู้ป่วยที่พบเภสัชกรก ...
    • การศึกษาเพื่อการพัฒนาการจัดการระบบบริการสุขภาพในระดับเขต 

      จิระวัฒน์ ปั้นเปี่ยมรัษฎ์; Jirawat Panpiemras; บุญวรา สุมะโน; Boonwara Sumano; ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit; บวรศม ลีระพันธ์; Borwornsom Leerapan; เพ็ญประภา ศิวิโรจน์; Penprapa Siviroj; ยุทธพงศ์ วงศ์สวัสดิวัฒน์; Yuttapong Wongswadiwat; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paiboon Suriyawongpaisarn; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; Vorasit Sornsrivichai; พยอม ถิ่นอ่วน; Payom Tin-uan; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachotphanit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-02)
      นโยบายเขตบริการสุขภาพ ซึ่งเริ่มดำเนินการเมื่อ พ.ศ. 2555 นับเป็นอีกก้าวแห่งความพยายามพัฒนาระบบบริการสุขภาพในขอบเขตความรับผิดชอบของกระทรวงสาธารณสุข ภายหลังความพยายามซึ่งมีมาเป็นระลอก ดังตัวอย่างนโยบายพัฒนาบริการสาธารณสุข ...
    • การศึกษาเพื่อประเมินหัวข้อปัญหาหรือเทคโนโลยีด้านสุขภาพเพื่อประกอบการพิจารณาเป็นสิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีพ.ศ. 2559-2560 (ภายใต้โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า) 

      ภูษิต ประคองสาย; กุมารี พัชนี; ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; สุรัชดา ชนโสภณ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-01)
      รายการหัวข้อปัญหาและเทคโนโลยีด้านสุขภาพที่ได้ทำการประเมินในระหว่างเดือนตุลาคม 2559 ถึง มกราคม 2561 เป็นหัวข้อที่มีความสำคัญและจำเป็นต้องมีการศึกษา เพื่อใช้ผลการศึกษาประกอบการพิจารณาเป็นชุดสิทธิประโยชน์ สำนักงานหลักประกัน ...
    • การศึกษาเพื่อพัฒนามาตรการกักตัวสำหรับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขที่สัมผัสผู้ติดเชื้อโควิด-19 

      ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; นภดล พิมสาร; Nopphadol Pimsarn; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; แพรวา กุลัตถ์นาม; Praewa Kulatnam; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; วริษฐา แสวงดี; Waritta Sawaengdee; นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา; Nuanjun Wichukchinda; มณีโชติรัตน์ สันธิ; Maneechotirat Santi; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; ณัฐปราง นิตยสุทธิ์; Natthaprang Nittayasoot; วราภรณ์ เทียนทอง; Varaporn Thienthong; สุทัศน์ โชตนะพันธ์; Suthat Chottanapund; พิไลลักษณ์ อัคคไพบูลย์ โอกาดะ; Pilailuk Akkapaiboon Okada; จักรรัฐ พิทยาวงศ์อานนท์; Chakrarat Pittayawonganon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      ความเป็นมา: บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขถือได้ว่าเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการสัมผัสโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โรคโควิด-19 ในระหว่างปฏิบัติงาน โดยเฉพาะในสถานการณ์ที่มีการระบาดของโรคในวงกว้าง เมื่อบุคลากรทางการแพ ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV