• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1201-1220 จาก 2486

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • การศึกษาเพื่อการพัฒนาการจัดการระบบบริการสุขภาพในระดับเขต 

      จิระวัฒน์ ปั้นเปี่ยมรัษฎ์; Jirawat Panpiemras; บุญวรา สุมะโน; Boonwara Sumano; ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit; บวรศม ลีระพันธ์; Borwornsom Leerapan; เพ็ญประภา ศิวิโรจน์; Penprapa Siviroj; ยุทธพงศ์ วงศ์สวัสดิวัฒน์; Yuttapong Wongswadiwat; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paiboon Suriyawongpaisarn; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; Vorasit Sornsrivichai; พยอม ถิ่นอ่วน; Payom Tin-uan; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachotphanit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-02)
      นโยบายเขตบริการสุขภาพ ซึ่งเริ่มดำเนินการเมื่อ พ.ศ. 2555 นับเป็นอีกก้าวแห่งความพยายามพัฒนาระบบบริการสุขภาพในขอบเขตความรับผิดชอบของกระทรวงสาธารณสุข ภายหลังความพยายามซึ่งมีมาเป็นระลอก ดังตัวอย่างนโยบายพัฒนาบริการสาธารณสุข ...
    • การศึกษาเพื่อประเมินหัวข้อปัญหาหรือเทคโนโลยีด้านสุขภาพเพื่อประกอบการพิจารณาเป็นสิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีพ.ศ. 2559-2560 (ภายใต้โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า) 

      ภูษิต ประคองสาย; กุมารี พัชนี; ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; สุรัชดา ชนโสภณ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-01)
      รายการหัวข้อปัญหาและเทคโนโลยีด้านสุขภาพที่ได้ทำการประเมินในระหว่างเดือนตุลาคม 2559 ถึง มกราคม 2561 เป็นหัวข้อที่มีความสำคัญและจำเป็นต้องมีการศึกษา เพื่อใช้ผลการศึกษาประกอบการพิจารณาเป็นชุดสิทธิประโยชน์ สำนักงานหลักประกัน ...
    • การศึกษาเพื่อพัฒนามาตรการกักตัวสำหรับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขที่สัมผัสผู้ติดเชื้อโควิด-19 

      ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; นภดล พิมสาร; Nopphadol Pimsarn; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; แพรวา กุลัตถ์นาม; Praewa Kulatnam; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; วริษฐา แสวงดี; Waritta Sawaengdee; นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา; Nuanjun Wichukchinda; มณีโชติรัตน์ สันธิ; Maneechotirat Santi; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; ณัฐปราง นิตยสุทธิ์; Natthaprang Nittayasoot; วราภรณ์ เทียนทอง; Varaporn Thienthong; สุทัศน์ โชตนะพันธ์; Suthat Chottanapund; พิไลลักษณ์ อัคคไพบูลย์ โอกาดะ; Pilailuk Akkapaiboon Okada; จักรรัฐ พิทยาวงศ์อานนท์; Chakrarat Pittayawonganon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      ความเป็นมา: บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขถือได้ว่าเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการสัมผัสโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โรคโควิด-19 ในระหว่างปฏิบัติงาน โดยเฉพาะในสถานการณ์ที่มีการระบาดของโรคในวงกว้าง เมื่อบุคลากรทางการแพ ...
    • การศึกษาเพื่อพัฒนารูปแบบการจัดบริการร่วมรัฐ-เอกชนในการให้บริการสุขภาพช่องปาก เพื่อลดความเหลื่อมล้ำด้านการเข้าถึงบริการของประชากรกลุ่มเด็กในเขตเมือง 

      ทรงวุฒิ ตวงรัตนพันธ์; Songvuth Tuongratanaphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-01)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในการทำความเข้าใจการจัดบริการทันตกรรมร่วมรัฐ-เอกชนที่มีการดำเนินการอยู่ในประเทศไทย เพื่อนำข้อมูลมาสังเคราะห์เป็นข้อเสนอในการจัดบริการทันตกรรมร่วมรัฐ-เอกชน เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการและลดความเหลื่อมล้ำ ...
    • การศึกษาเพื่อวิเคราะห์นโยบายและพัฒนาแนวทางการกระจายอำนาจการบริหารงานสาธารณสุขสู่ภูมิภาคและท้องถิ่น 

      สถาบันที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2540)
      การศึกษาเพื่อวิเคราะห์นโยบายและพัฒนาแนวทางการกระจายอำนาจการบริหารงานสาธารณสุขสู่ภูมิภาคและท้องถิ่นสถาบันที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ ร่วมกับสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข ได้ศึกษาวิเคราะห์ระบบการบร ...
    • การศึกษาเภสัชจลนศาสตร์ และเภสัชพลศาสตร์ของยาไอเวอร์เมคตินในผู้ป่วยเด็กติดเชื้อไวรัสเด็งกี่ 

      ปนิษฎี อวิรุทธ์นันท์; Panisadee Avirutnan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-08)
      โรคไข้เลือดออก เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของโลก เนื่องจากมีผู้ติดเชื้อไวรัสเด็งกี่ซึ่งมีอาการทางคลินิกมากถึง 390 ล้านคนต่อปี โดยทั่วไปคนที่ติดเชื้อไวรัสเด็งกี่จะไม่แสดงอาการ (asymptomatic) แต่มีผู้ติดเชื้อจำนวนหนึ่งที ...
    • การศึกษาเภสัชพันธุศาสตร์และเภสัชจลนศาสตร์ของกรดมัยโคฟีโนลิคและแมทาบอไลท์ 

      ณัฐ คูณรังษีสมบูรณ์; Nut Koonrungsesomboon; ดำเนินสันต์ พฤกษากร; Dumnoensun Pruksakorn; มิ่งขวัญ ณ ตะกั่วทุ่ง; Mingkwan Na Takuathung; ศิริพงษ์ ตองใจ; Siripong Tongjai; ภรัณยา ชัยวัฒน์; Parunya Chaiyawat; สาลินี จันทราภิรมย์; Salinee Jantrapirom; ปารเมศ เทียนนิมิตร; Parameth Thiennimitr; ศุภนิมิต ทีฆชุณหเถียร; Supanimit Teekachunhatean (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      กรดมัยโคฟีโนลิค (MPA) เป็นยากดภูมิคุ้มกันที่ใช้ในการป้องกันการต่อต้านการปลูกถ่ายอวัยวะและอยู่ระหว่างการศึกษาประสิทธิผลของยาต่อการต้านมะเร็งกระดูกออสทิโอซาร์โคมา อย่างไรก็ตาม พบว่า ผู้ที่ได้รับยาชนิดนี้แต่ละคนมีค่าเภสัชจล ...
    • การศึกษาเภสัชพันธุศาสตร์และเภสัชจลนศาสตร์ของกรดมัยโคฟีโนลิคและแมทาบอไลท์ (ระยะที่ 2) 

      ณัฐ คูณรังษีสมบูรณ์; Nut Koonrungsesomboon; ดำเนินสันต์ พฤกษากร; Dumnoensun Pruksakorn; ศิริพงษ์ ตองใจ; Siripong Tongjai; ณหทัย ดูแก้ว; Nahathai Dukaew; ภรัณยา ชัยวัฒน์; Parunya Chaiyawat; มิ่งขวัญ ณ ตะกั่วทุ่ง; Mingkwan Na Takuathung (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      กรดมัยโคฟีโนลิค (Mycophenolic acid, MPA) เป็นยากดภูมิคุ้มกันที่ใช้ในการป้องกันการต่อต้านการปลูกถ่ายอวัยวะและอยู่ระหว่างการศึกษาประสิทธิผลของยาต่อการต้านมะเร็งกระดูกออสทิโอซาร์โคมา อย่างไรก็ตาม พบว่า ผู้ที่ได้รับยาชนิดนี้ ...
    • การศึกษาเส้นทางเข้าสู่การเป็นผู้เสพและการเป็นผู้จำหน่ายยาบ้าของผู้รับบำบัดหญิง:กรณีศึกษา ศูนย์บำบัดและฟื้นฟูยาเสพติดกองบินที่ 23,จังหวัดอุดรธานี,ประเทศไทย 

      กิตติยาภรณ์ โชคสวัสดิ์ภิญโญ; ปิติพงศ์ ภูครองหิน (โครงการจัดการองค์ความรู้เรื่องยาเสพติด, 2553)
      การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative research) เพื่อศึกษาถึงเส้นทางการเข้าสู่การเป็นผู้เสพและหรือจำหน่ายยาบ้า และศึกษาปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อ และปัจจัยเสริมที่มีอิทธิพลต่อการนำเข้าสู่เส้นทางการเป็นผู้เสพและหรื ...
    • การศึกษาเอกโซมของผู้เสียชีวิตกลุ่มอาการตายโดยมิปรากฏเหตุแบบฉับพลันในกลุ่มประชากรไทยที่เสียชีวิตในอายุน้อย 

      กรเกียรติ วงศ์ไพศาลสิน; Kornkiat Vongpaisarnsin; ทิฆัมพร สถิรแพทย์; Tikumphorn Sathirapatya; ปุณยภัทร สุขวุฒิยา; Poonyapat Sukawutthiya; ฮัสนีย์ โนะ; Hasnee Noh; ภัคค์ปภัส วรัชต์ญารมย์; Pagparpat Varrathyarom; รัชติพรรณ ปิติวรารมย์; Rachtipan Pitiwararom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)
      การตรวจสารพันธุกรรมเพื่อใช้ในการหาปัจจัยทางพันธุกรรมที่เป็นสาเหตุของการก่อโรคหรือมีความสัมพันธ์ต่อการเกิดโรคนั้น ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายทางการแพทย์ในปัจจุบัน ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการค้นหายีนก่อโรคที่หายากหรือโรคที่มีปัจจัย ...
    • การศึกษาแนวทางการจัดสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมของประเทศไทย 

      ถาวร สกุลพาณิชย์; พัฒนาวิไล อินใหม; อรรวรรณ ประสิทธิ์ศิริผล; บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; เอื้อมพร พิชัยสนิธ; ภัททา เกิดเรือง; ครรชิต สุขนาค; ขวัญพลอย ชีช้าง (ส่วนงานสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      ประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เริ่มมีการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ช้าลง มีค่าใช้จ่ายด้านสวัสดิการมากขึ้น จึงจำเป็นต้องมีการศึกษาเพื่อหาแนวทางในการจัดสวัสดิการสังคมที่เหมาะสม สำหรับบริบทของประเทศที่เปลี่ยนไป การศึกษาครั้งนี้ ...
    • การศึกษาแนวทางการดำเนินงานของชุมชนในระบบหลักประกันสุขภาพ 

      วณี ปิ่นประทีป (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, 2552)
      โครงการศึกษาแนวทางการดำเนินงานของชุมชนในระบบหลักประกันสุขภาพ โดย มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (มสช.) ภายใต้การสนับสนุนจากแผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ได้ทำการศึกษากองทุนสวัสดิการชุมชนทั้งหมด 10 ...
    • การศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาลของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อพัฒนาสู่ระบบต้นแบบและการพัฒนาระบบดัชนชีวัดหลักของระบบ : ฉบับที่ 1.2 การพัฒนาตัวชี้วัดในระดับปฏิบัติการสำหรับระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน 

      รัญชนา สินธวาลัย (ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2551)
      ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินของประเทศไทยในปัจจุบันยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร เห็นได้จากผลการดำเนินงานที่แตกต่างกันมากในแต่ละจังหวัด โดยแนวทางหนึ่งที่สามารถใช้ในการพัฒนาระบบฯ ได้ คือ การนำตัวชี้วัดที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมาป ...
    • การศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาลของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อพัฒนาสู่ระบบต้นแบบและการพัฒนาระบบดัชนีชี้วัดหลักของระบบ : ฉบับที่ 1.1 การศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาล 

      รัญชนา สินธวาลัย (ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2551)
      งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาแนวปฏิบัติการดำเนินงานระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาล โดยการลงพื้นที่สัมภาษณ์เชิงลึกถึงแนวทางการดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับระบบฯ ในจังหวัดที่เป็นพื้นที่กรณีศึกษา ได้แก่ จังหวัดขอนแก่น ...
    • การศึกษาแนวโน้มการเจ็บป่วยและการตายโดยแยกตามกลุ่มอายุ เพศ และภาค พ.ศ.2524-2536 

      นฤมล ศิลารักษ์; Narumon Silarak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
    • การศึกษาแบคทีเรียและโปรตีโอมน้ำลายที่จำเพาะกับโรคปริทันต์ในผู้ป่วยที่เป็นโรคพันธุกรรมภูมิคุ้มกันหายาก (ปี 2564) 

      ฑัณฑริรา พรทวีทัศน์; Thantrira Porntaveetus; นรินทร์ อินทรักษ์; Narin Intarak; ธนากร ธีรภานนท์; Thanakorn Theerapanon; เสริมพร ทวีทรัพย์พิทักษ์; Sermporn Thaweesapphithak; ทิตยา ไชยบุญญารักษ์; Thitaya Chaiboonyarak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-11)
      โรคปริทันต์เป็นปัญหาที่พบบ่อยในประชากรทั่วไปโดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีโรคพันธุกรรมภูมิคุ้มกัน ซึ่งเป็นโรคที่เรื้อรังส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต เนื่องจากความรู้ความเข้าใจในลักษณะทางช่องปากของผู้ป่วยโรคพันธุกรรมภูมิคุ้มกันมีอยู่อย่างจำกัด ...
    • การศึกษาแบคทีเรียและโปรตีโอมน้ำลายที่จำเพาะกับโรคปริทันต์ในผู้ป่วยที่เป็นโรคพันธุกรรมภูมิคุ้มกันหายาก (ปี พ.ศ. 2566) 

      ฑัณฑริรา พรทวีทัศน์; Thantrira Porntaveetus; นรินทร์ อินทรักษ์; Narin Intarak; ธนากร ธีรภานนท์; Thanakorn Theerapanon; เสริมพร ทวีทรัพย์พิทักษ์; Sermporn Thaweesapphithak; ทิตยา ไชยบุญญารักษ์; Thitaya Chaiboonyarak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-11)
      ปัญหาทางปากมีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อผู้ที่เป็นโรคพันธุกรรมภูมิคุ้มกันหายาก (Inborn Error of Immunity, IEI) ซึ่งทำให้สุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเสื่อมลง โครงการนี้มุ่งเน้นการสำรวจลักษณะในช่องปากและฟัน ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ...
    • การศึกษาแบบผสมผสานเพื่ออธิบายพฤติกรรมและปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้สารเสพติดในกลุ่มนักศึกษาอาชีวะ ในเขตภาคตะวันออก 

      พรพรรณ ศรีโสภา; Pornpan Srisopa; สายฝน ม่วงคุ้ม; Saifone Moungkum; พรพรรณ สุดใจ; Pornpun Sudjai; ปาจรา โพธิหัง; Pachara Photihung; พิชามญชุ์ อินทะพุฒ; Pichamon Intaput; อาทิตยา อติวิชญานนท์; Artittaya Artiwitchayanon; ภรภัทร เฮงอุดมทรัพย์; Pornpat Hengudomsub; นิสากร กรุงไกรเพชร; Nisakorn Krungkraipetch; วัชรกันญ์ อะเวลา; Watcharagan Awela (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-05)
      ปัญหายาเสพติดในวัยรุ่นเป็นปัญหาที่ซับซ้อนและเกิดจากการผสมผสานของหลายปัจจัยอย่างไรก็ตาม การศึกษาข้อมูลระบาดวิทยาในกลุ่มนักศึกษาอาชีวะยังมีอยู่จำกัด ดังนั้น การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความชุกและปัจจัยที่สั ...
    • การศึกษาแบบสหสถาบันเรื่องการฉีดวัคซีนภูมิแพ้ไรฝุ่น เพื่อเป็นหลักฐานเชิงประจักษ์สำหรับแนวทางการรักษาโรคภูมิแพ้ทางจมูกเรื้อรังที่มีอาการรุนแรงปานกลางหรือรุนแรงมาก (ปีที่ 2) 

      พงศกร ตันติลีปิกร; Pongsakorn Tantilipikorn; พรรณทิพา ฉัตรชาตรี; สุพินดา ชูสกุล; อิโรชิ จันทาภากุล; สงวนศักดิ์ ธนาวิรัตนานิจ; ภาสุรี แสงศุภวานิช; สุวัฒน์ เบญจพลพิทักษ์; ทิชา ฤกษ์พัฒนาพิพัฒน์; บุญสาม รุ่งภูวภัทร; สุปราณี ฟูอนันต์; อธิก แสงอาสภวิริยะ; อรทัย พิบูลโภคานันท์; ต่อพงษ์ ทองงาม; ประภาศรี กุลาเลิศ; ฐนิตา ทวีธรรมเจริญ; ประภาพร นพรัตยาภรณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-02)
      โรคภูมิแพ้ทางเดินหายใจ ซึ่งประกอบด้วยโรคภูมิแพ้ทางจมูกและโรคหืดนั้น เป็นโรคที่ใช้ยารักษาที่มีราคาสูง ได้แก่ ยาพ่นและยารับประทานซึ่งไม่ใช่การรักษาที่จำเพาะต่อโรคเป็นเพียงการทุเลาอาการและลดการอักเสบเท่านั้น การรักษาที่จำเพ ...
    • การศึกษาแบบสุ่มเปรียบเทียบระหว่างการรักษาด้วยรังสีรักษาร่วมกับการให้ยาเคมีบำบัดกับการรักษาด้วยรังสีรักษาร่วมกับการให้ยาเคมีบำบัดตามด้วยการให้ยาเคมีบำบัดเพิ่มเติมในผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกระยะลุกลามเฉพาะที่ 

      ศิริวรรณ ตั้งจิตกมล; Siriwan Tangjitgamol; วิชาญ หล่อวิทยา; Vichan Lordvithaya; คณิศา รองศรีแย้ม; Kanisa Rongsriyam; จักรพันธ์ ขุนณรงค์; Jakkapan Khunnarong; สุนำโชค ศรีใจพระเจริญ; Sunamchok Srijaipracharoen; บุษบา ศุภวัฒน์ธนบดี; Busaba Supawattanabodee; กันยารัตน์ กตัญญู; Kanyarat Katanyoo; จตุพล ศรีสมบูรณ์; Jatupol Srisomboon; เอกสิทธ์ ธราวิจิตรกุล; Ekkasit Tharavijitkul; ดวงใจ แสงถวัลย์; Duangjai Sangthawan; ธิติ อัจจิมากุล; Thiti Atjimakul; ประเสริฐ เลิศสงวนสินชัย; Prasert Lertsanguansinchai; ปิยะวรรณ ปริยวาทีกุล; Piyawan Pariyawateekul; อภิรดี กฤดากร; Apiradee Kridakara; ช่อแก้ว โตวณะบุตร; Chokaew Tovanabutra; จิรศักดิ์ สุขาบูรณ์; Jirasak Sukhaboon; ทัศน์วรรณ อาษากิจ; Tussawan Asakit; Kannika Paengchit; สมคิด เพ็ญพัธนกุล; Somkit Penpattanagul; สิเรนทรา หวังลิขิตกูล; Sirentra Wanglikitkoon; เทวินทร์ โชติธนประสิทธิ์; Taywin Chottetanaprasith; Prapai Tanprasert; วรรณวิภา จันทร์วีระชัย; Wanwipa Janweerachai; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; จิตติ หาญประเสริฐพงษ์; Jitti Hanprasertpong; กาลนิการ์ แปงจิตร์; ประไพ ตันประเสริฐ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)
      มะเร็งปากมดลูกยังเป็นปัญหาที่สำคัญในประเทศไทย อัตราการเสียชีวิตสูงเนื่องจากมักพบโรคอยู่ในระยะลุกลาม การรักษามาตรฐานสำหรับระยะลุกลามเฉพาะที่ (locally advanced cervical cancer) ซึ่งรวมตั้งแต่ระยะ 2 บี ถึงระยะ 4 เอ คือ ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV