• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1379-1398 จาก 2484

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • การสำรวจสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 3 พ.ศ. 2546-2547 

      เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม; พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข, 2549-10)
      การสำรวจสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 3 พ.ศ.2546-2547 ได้ดำเนินการโดยสำนักงานการสำรวจสภวะสุขภาพอนามัย(สกสอ.)ซึ่งจัดตั้งโดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข และสนับสนุนด้านงบประมาณการสำรวจจากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ...
    • การสำรวจองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในมิติสุขภาพ สิ่งแวดล้อม และเศรษฐศาสตร์ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      ปริมาณสารเคมีกําจัดศัตรูพืชที่นําเข้าสู่ประเทศไทยได้ขยายตัวเพิ่มขึ้นทุกปีเพื่อนํามาใช้ในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและปริมาณการส่งออกให้มากขึ้น และอีกสาเหตุที่สําคัญคือการดื้อยาของศัตรูพืช ทําให้เกษตรกรต้องเพิ่มปริมาณการใช ...
    • การสำรวจและประมวลผลข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสถานเลี้ยงดูเด็กวัย 0-6 ปีในประเทศไทย 

      อุดมสิทธิ์ จิตรวิจารณ์; Udomsit Chirtwicharn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      การสำรวจและประมวลผลข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสถานเลี้ยงดูเด็กวัย 0-6 ปีในประเทศไทย วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อศึกษาศูนย์เลี้ยงเด็กเล็กตั้งแต่แรกเกิดจนถึงหกขวบในประเทศไทยเพื่อนำไปสู่การพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก ข้อมูลที่ใช้ส่วนใ ...
    • การสำรวจและประเมินผลการดำเนินการทบทวนด้านจริยธรรม ภาคเสริมของแนวทางการดำเนินการสำหรับคะแนนกรรมการด้านจริยธรรมผู้มีหน้าที่ทบทวนพิจารณาการศึกษาวิจัยทางชีวเวชศาสตร์ 

      สำนักงานโครงการพิเศษเพื่อการศึกษาวิจัย และฝึกอบรมทางเวชศาสตร์เขตร้อน องค์การอนามัยโลก (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      จุดมุ่งหมายของแนวทางฯ นี้เพื่อช่วยสร้างกรอบสากลในการสำรวจและประเมินการดำเนินการทบทวนด้านจริยธรรม การทบทวนด้านจริยธรรมช่วยให้ข้อชี้แนะที่จำเป็นแก่โครงร่างการวิจัย และช่วยให้เกิดความมั่นใจในการคุ้มครองอาสาสมัครและชุมชนจำเป ...
    • การสื่อสารสุขภาพท้องถิ่น : แนวคิด การดำเนินงาน และการขยายผล 

      ดวงพร คำนูณวัฒน์; นิยะนันท์ สำเภาเงิน; สุนิดา ศิวปฐมชัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่นักสื่อสารสุขภาพ หรือ นสส.ที่ปฏิบัติงานสื่อสารสุขภาพในพื้นที่จังหวัดแพร่และกาญจนบุรีซึ่งเป็นผลจากงานวิจัยช่วงแรก ให้สามารถดำเนินงานได้ด้วยตนเอง สนับสนุน นสส. ...
    • การสื่อสารสุขภาพท้องถิ่น: จังหวัดปัตตานี 

      อิ่มจิต เลิศพงษ์สมบัติ; นุวรรณ ทับเที่ยง; อรุณีวรรณ บัวเนี่ยว (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12)
      โครงการวิจัยและพัฒนาการสื่อสารสุขภาพท้องถิ่น: จังหวัดปัตตานี (Research and Development of Local Health Communication: Pattani) มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาผู้ที่มีความตั้งใจ สนใจ และมีความพร้อมที่จะทำหน้าที่นักสื่อสารสุขภาพท ...
    • การสุ่มสำรวจข้อมูลประชากรและการสาธารณสุข จังหวัดสมุทรปราการ ปี พ.ศ. 2537 

      คณะทำงานโครงการพัฒนาระบบข้อมูล เพื่อการบริหารจัดการ จังหวัดสมุทรปราการ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2539)
      Samutprakarn’s sampling survey information system for health managementThe survey employing cluster sampling technique covered the entire area of the province and households were sampling units.300 clusters were ...
    • การส่งเสริมการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากคนพิการ 

      ศันสณี รัชชกูล; Sunsanee Rajchagool; พวงทอง ผู้กฤตยาคามี; Puangtong Pukrittiyakamee; สุรัตน์ มงคลชัยอรัญญา; Surat Mongkolchaiarunya; ภัตติมา บุรพลกุล; Pattima Burapholkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-04)
      จากผลการดำเนินงานขึ้นทะเบียนคนพิการของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ณ. วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2557 พบมีผู้พิการทั่วประเทศ 1,505,088 คนหรือร้อยละ 2.2 ของประชากรไทย มี แนวโน้มเพิ่มขึ้นเฉลี่ยปีละกว่าแสนคน ...
    • การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555 

      สมาคมเภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย); มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะเภสัชศาสตร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผลพบได้ทั้งในกลุ่มผู้ใช้ยาและผู้สั่งจ่าย ทั้งในสถานพยาบาลและร้านยา โดยเฉพาะในโรคหวัดที่พบว่า ประชาชนเกินกว่าครึ่งที่ใช้ยาปฏิชีวนะในการรักษา เป็นส่วนหนึ่งของการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่เหมาะสม ...
    • การส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรในรายการบัญชียาจากสมุนไพร พ.ศ. 2549 

      วีรพงษ์ เกรียงสินยศ; Weerapong Kriangsinyod (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ความนิยมใช้ยาสมุนไพรและการแพทย์แผนไทยได้รับการตอบรับจากประชาชนเพิ่มขึ้น แม้วงการวิชาการตลอดจนบุคลากรด้านสุขภาพต่างหันมาสนใจศึกษาวิจัยและนำสมุนไพรมาใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเช่นกัน แต่การส่งเสริมและสนับสนุนยังไม่สามารถจัดการได ...
    • การส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use : การศึกษาการขยายผลสู่ความยั่งยืนโดยการสร้างบรรทัดฐานใหม่ทางสังคม (พ.ศ. 2554 – 2556) 

      นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      เชื้อแบคทีเรียดื้อยาจากการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผลได้กลายเป็นวิกฤตร่วมของคนทั่วโลก รวมทั้งของประเทศไทย เนื่องจากแบคทีเรียมีการปรับตัวให้ดื้อต่อยาปฏิชีวนะส่งผลให้ยาปฏิชีวนะที่มีใช้ในปัจจุบันไม่มีประสิทธิภาพในการรักษา ...
    • การส่งเสริมประชาคมสื่อมวลชนเพื่อสุขภาพ 

      พลเดช ปิ่นประทีป; Poladech Pinprathip; ยุทธดนัย สีดาหล้า (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research) ซึ่งดำเนินการในพื้นที่ 4 จังหวัด ใน 4 ภาคของประเทศ ได้แก่ นครราชสีมา ตรัง พิษณุโลก และสมุทรปราการ ระหว่างเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2543 – ตุลาคม ...
    • การส่งเสริมสุขภาพขององค์กรพัฒนาเอกชน : กรณีศึกษา "ชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพแห่งประเทศไทย" 

      ลักขณา เติมศิริกุลชัย; Lukana Termsirikulchai; ประสิทธิ์ ลีระพันธ์; ภรณี วัฒนสมบูรณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      การส่งเสริมสุขภาพขององค์กรพัฒนาเอกชน:กรณีศึกษา"ชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพแห่งประเทศไทย" ชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพเป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้เกิดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง การศึกษานี้เพื่อทบทวนของกิจกรรมของชมรมตั้ง ...
    • การส่งเสริมสุขภาพองค์กรภาคธุรกิจเอกชน : กรณีศึกษาบริษัทยูนิลิเวอร์ ไทย โฮลดิ้ง จำกัด 

      ทวีวรรณ ลีระพันธ์; Thaweewan Leerapan; รวมพร คงกำเนิด; เพ็ญศรี อนันตกุลนธี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      การส่งเสริมสุขภาพองค์กรภาคธุรกิจเอกชน: กรณีศึกษาบริษัทยูนิลีเวอร์ ไทย โฮลดิ้ง จำกัด การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อบรรยายผลงานและกระบวนการดำเนินงานของบริษัทยูนิลีเวอร์ ไทย โฮลดิ้ง จำกัด ซึ่งเป็นสถานประกอบการที่มีผลง ...
    • การส่งเสริมสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานชนิดไม่พึงอินสุลินในชุมชนเขตเทศบาลเมืองนครพนม 

      อำพล หงษ์งาม; Amphol Hongngam; พีระ อารีรัตน์; รุจิรา ดวงสงค์; สกนธ์วรรณ เติมทานาม; Pheraphol Areerat; Ruchira Duangsong; Sakhonwan Toemtanam (โรงพยาบาลนครพนม, 2543)
    • การส่งเสริมสุขภาพในสถานที่ทำงานเอกชน : โครงการวิจัยเพื่อสร้างพื้นฐานการพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพในที่ทำงานภาคเอกชน: กรณีศึกษาสี่จังหวัดภาคเหนือ 

      เกษม นครเขตต์; Kasem Nakornkat; สามารถ ศรีจำนงค์; อุเทน ปัญโญ; เอนก ช้างน้อย; มนัส ยอดคำ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสืบค้นหาความดีงาม (Appreciation Inquiry -AI) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาการดำเนินการส่งเสริมสุขภาพคนทำงาน ในสถานประกอบการภาคเอกชน ในพื้นที่สี่จังหวัดภาคเหนือคือ เชียงราย เชียงใหม่ ลำพูนและลำปาง ...
    • การส่งเสริมสุขภาพในองค์กรภาครัฐ : กรณีศึกษาศูนย์ส่งเสริมสุขภาพเขต 1 

      เพ็ญประภา ศิวิโรจน์; Penprapa Siviroj; ประสิทธิ์ ลีระพันธ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      Well-organized governmental organization for health promotion: Case Study of the Health Promotion Center Zone 1This study aims to elaborate process and success of the Health Promotion Center Zone 1 is as a case study of ...
    • การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (Strategic Route Map)ในการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในระดับจังหวัด 

      มูลนิธิแสงสิทธิการ (เพื่อคุณภาพชีวิต) (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-12)
      กิจกรรมหลักตามโครงการส่งเสริมฯ ที่ได้ดำเนินการและประสบผลสำเร็จเป็นอย่างดี คือ การเสริมสร้างทักษะบุคลากร ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(Strategic Route Map:SRM) ทั้ง 7 ขั้นตอน มาปรับประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือในการบริหาร ...
    • การส่งเสริมโภชนาการช่วงแรกของชีวิตในระบบงานอนามัยแม่และเด็ก ปีที่ 1 

      พัตธนี วินิจจะกูล; ทิพวัลย์ พงษ์เจริญ; นิภา โรจน์รุ่งวศินกุล; ศิริพร ตันติโพธิ์พิพัฒน์; สืบพงษ์ กอวชิรพันธ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      โภชนาการที่เหมาะสมสำหรับมารดาและทารกตั้งแต่มีการปฏิสนธิ จนตลอดสองปีแรก หรือ “1000 วันแรกของชีวิต” มีความสำคัญต่อการเติบโต สุขภาพ และศักยภาพทางสติปัญญา การสำรวจระดับประเทศพบว่าปัญหาทางโภชนาการในแม่และเด็กเปลี่ยนจากภาวะการ ...
    • การสํารวจความคิดเห็น ด้วย Real Time Delphi 

      นเรศ ดํารงชัย; ปวรภัส โพธิสุข; จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), 2551-10)
      ในการสร้างหลักประกันสุขภาพของประเทศไทยเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการบริการสุขภาพ มีวิวัฒนาการมาโดยลําดับ ซึ่งพบว่ามีทั้งความสําเร็จ ความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคที่กล่าวถึงในวงกว้างทั้งในแวดวงวิชาการและแวดวงประชาคม หลายประเด็นม ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1290]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [232]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV