Now showing items 1-8 of 8

    • การประกันคุณภาพของบริการส่งเสริมสุขภาพในระบบสุขภาพระดับจังหวัด 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul; สำนักงานนโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนองค์ความรู้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพของบริการส่งเสริมสุขภาพ ร่วมกับศึกษาการประกันคุณภาพของบริการส่งเสริมสุขภาพที่เป็นอยู่และที่คาดหวังในสายตาของผู้เชี่ยวชาญและผู้ปฏิบัติในระดับจังหวัด ...
    • การมีส่วนร่วมจ่ายค่าบริการสุขภาพ ประสบการณ์จาก 10 ประเทศ 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ค่าใช้จ่ายสุขภาพของประเทศที่เพิ่มขึ้น เกินกว่าอัตราที่งบประมาณที่มีอยู่จะเพียงพอให้การสนับสนุน ทำให้เริ่มเกิดคำถามเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมจ่ายค่าบริการสุขภาพ รายงานนี้เป็นการนำเสนอผลการสังเคราะห์ประสบการณ์ต่างประเทศ ...
    • การศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ของหน่วยงานที่มีหน้าที่จัดการระบบสุขภาพระดับตำบล ภายใต้แผนการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; มโน มณีฉาย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาสถานการณ์ปัจจุบันของการจัดการระบบสุขภาพระดับตำบลในประเทศไทย 2. เพื่อศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ของหน่วยงานที่มีหน้าที่จัดการระบบสุขภาพระดับตำบล 3. ความสัมพันธ์เชิงอำนาจและความรับผิดชอบในการดำเนินก ...
    • การใช้กระบวนการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลเพื่อการพัฒนาบทบาทด้านการสร้างเสริมสุขภาพของโรงพยาบาล 

      อำนาจ ศรีรัตนบัลล์; Amnach Sriratanaban; สรรธวัช อัศวเรืองชัย; กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; จินดา ตั้งรวมทรัพย์; จารุวรรณ ธาดาเดช; Santawat Asavaroengchai; Krit Pongpirul; Jinda Tangraumsab; Charuwan Tadadej (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      เป้าประสงค์ของโครงการวิจัยนี้คือความพยายามที่จะใช้กระบวนการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA) มาช่วยพัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพ (HP) ในบริบทของโรงพยาบาลให้กว้างขวางยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัยที่ตั้งไว้มีสองข้อ ...
    • คำถามการวิจัยและปัญหาที่ควรได้รับการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพของบริการสุขภาพในประเทศไทย : ระยะที่ 1 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; สรรธวัช อัศวเรืองชัย; กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; จเด็จ ธรรมธัชอารี; ภรณี เหล่าอิทธิ; Santawat Asawarueangchai; Kin Phongphirun; Jadej Thammatacharee; Pharanee Laoitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      โครงการวิจัยนี้ประกอบด้วยการศึกษา 2 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นการทบทวนประสบการณ์การทำวิจัยด้านคุณภาพของบริการสุขภาพ และการทำข้อเสนอกรอบคำถามของการวิจัยเบื้องต้น และระยะที่ 2 ซึ่งจะการสำรวจสถานการณ์และข้อคำถามของผู้ ...
    • คำถามการวิจัยและปัญหาที่ควรได้รับการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพของบริการสุขภาพในประเทศไทย : ระยะที่ 2 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; สรรธวัช อัศวเรืองชัย; กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; จเด็จ ธรรมธัชอารี; ภรณี เหล่าอิทธิ; Santawat Asawarueangchai; Krit Pongpirul; Jadej Thammatacharee; Poranee Laoitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      โครงการวิจัยคำถามการวิจัยและปัญหาที่ควรได้รับการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพของบริการสุขภาพในประเทศไทย นี้ประกอบด้วยการศึกษา 2 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นการทบทวนประสบการณ์การทำวิจัยด้านคุณภาพของบริการสุขภาพ และการทำข้อเ ...
    • ระบบสารสนเทศแบบคอมพิวเตอร์ในโรงพยาบาลและคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วย 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul; อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Anuwat Supachutikul; Jiruth Sriratanaban; สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      ปัจจุบันมีการนำเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในกระบวนการดูแลรักษาและให้บริการในโรงพยาบาลต่างๆ ในประเทศไทย เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการ โดยเฉพาะการจัดทำรายงานประกอบการเบิกจ่ายงบประมาณตามโครงการประกันสุขภาพต่างๆ โดยที่ยังไม่แน่ ...
    • โครงการปัญญาประดิษฐ์เพื่อการค้นหาวัณโรคเชิงรุก 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul; ศีลวันต์ สถิตย์รัตนชีวิน; Seelwan Sathitratanacheewin; พนาสันต์ สุนันต๊ะ; Panasun Sunanta (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญระดับโลกนอกจากก่อให้เกิดความสูญเสียทางสุขภาพจากการป่วยและเสียชีวิต ยังเกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ ผลกระทบเกิดทั้งต่อผู้ป่วย ครอบครัวและคนใกล้ชิด รวมถึงสังคมสูญเสียผลิตภาพและศักยภาพของประชากร ...