Browsing Research Reports by Author "บวรศม ลีระพันธ์"
Now showing items 1-10 of 10
-
การทบทวนสถานการณ์ระบบบริการสาธารณสุขและการควบคุมคุณภาพตามธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2552
บวรศม ลีระพันธ์; อัครินทร์ นิมมานนิตย์; ดาริน จตุรภัทรพร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-02)ประเทศไทยมีการใช้ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2552 เป็นพันธะสัญญาและแผนที่ร่วมกันของสังคมเพื่อขับเคลื่อนให้เกิดระบบสุขภาพที่พึงประสงค์มาเป็นระยะเวลาพอสมควร แต่เนื่องจากระบบสุขภาพของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่าง ... -
การพัฒนาสุขภาพในชุมชนเพื่อตอบสนองความต้องการด้านสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบางในประเทศไทย
ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; บวรศม ลีระพันธ์; วิชัย เอกพลากร; วิชช์ เกษมทรัพย์; นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์; ฉัตรชัย อิ่มอารมย์; รัศมี ตันศิริสิทธิกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559)โครงการสังเคราะห์บทเรียนจากโครงการพัฒนาสุขภาพในชุมชนเพื่อตอบสนองความต้องการด้านสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบางในประเทศไทย (Lessons learned from community-based health interventions for vulnerable populations in Thailand) ... -
การพัฒนาแบบจำลองบูรณาการระบบการแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เพื่อสนับสนุนกระบวนการตัดสินใจเชิงนโยบาย
บวรศม ลีระพันธ์; Borwornsom Leerapan; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; พาส์น ฑีฆทรัพย์; Pard Teekasap; แพรวนภา พันธุ์สวาสดิ์; Praewnapa Puntusavase; วรารัตน์ ใจชื่น; Wararat Jaichuen; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; Vorasith Sornsrivichai; ปณิธี ธัมมวิจยะ; Panithee Thammawijaya; ภาณุวิชญ์ แก้วกำจรชัย; Phanuwich Kaewkamjonchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-05)กรอบแนวคิดที่ประเทศไทยใช้กำหนดทิศทางของการจัดการปัญหาการระบาดใหญ่ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด-19 (COVID-19) ภายใต้บริบทของระบบสุขภาพของประเทศไทยในปัจจุบัน อาจมีแนวโน้มของการคิดแยกส่วนโดยอาศัยความเชี่ยวชาญเฉพา ... -
การวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการดูแลระยะยาว (Long-term care) สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; วิชช์ เกษมทรัพย์; วิชัย เอกพลากร; บวรศม ลีระพันธ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-02)เป็นที่รับทราบกันดีโดยทั่วไปในสังคมแล้วว่าประเทศไทยเราก้าวเข้าสู่สังคมสูงวัยเรียบร้อยแล้วและในอีกไม่กี่ปีข้างหน้าประเทศไทยเราก็จะก้าวเข้าสู่สังคมสูงวัย เรามีผู้สูงอายุถึงร้อยละ 20 ของประชากร ทั้งนี้ การเปลี่ยนแปลงของโครง ... -
การศึกษาการอุดหนุนข้ามระหว่างกองทุนสุขภาพในโรงพยาบาล : กรณีศึกษาโรงพยาบาลรัฐในประเทศไทย
บวรศม ลีระพันธ์; ภัททา เกิดเรือง; อุทุมพร วงษ์ศิลป์; Borwornsom Leerapan; Phatta Kirdruang; Utoomporn Wongsin (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.), 2556-09)การจัดการด้านการคลังสุขภาพเป็นหนึ่งในองค์ประกอบพื้นฐานสำคัญของระบบสุขภาพ โดยเฉพาะระบบสุขภาพของประเทศไทย ซึ่งมีการจัดการด้านการคลังสุขภาพผ่านกองทุนสุขภาพจำนวนหลายกองทุน ดังนั้น ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการของโรงพยาบาลต่อน ... -
การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการลดอัตราการติดเชื้อที่แผลผ่าตัดของการเย็บแผลในภายหลังเทียบกับการเย็บแผลทันทีในผู้ป่วยไส้ติ่งอักเสบที่มีเนื้อตายหรือแตกทะลุ
บุญยิ่ง ศิริบำรุงวงศ์; อนุวัชช์ จันทร์ทิพย์; พินิจ หนูฤทธิ์; วินัย อึงพินิจพงศ์; ปรัชญา โชติยะ; จุมพล วิลาศรัศมี; อัมรินทร์ ทักขิญเสถียร; บวรศม ลีระพันธ์; ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์; Attia, John (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-08)การศึกษานี้จัดทำเพื่อศึกษาเปรียบเทียบอัตราการติดเชื้อที่แผลผ่าตัดระหว่างการเย็บปิดแผลทันทีและการเย็บปิดแผลในภายหลังในผู้ป่วยไส้ติ่งอักเสบที่มีเนื้อตายหรือแตกทะลุ โดยเป็นการศึกษาแบบสุ่มแบบสหสถาบันในผู้ป่วยไส้ติ่งอักเสบที่ ... -
การศึกษาเพื่อการพัฒนาการจัดการระบบบริการสุขภาพในระดับเขต
จิระวัฒน์ ปั้นเปี่ยมรัษฎ์; Jirawat Panpiemras; บุญวรา สุมะโน; Boonwara Sumano; ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit; บวรศม ลีระพันธ์; Borwornsom Leerapan; เพ็ญประภา ศิวิโรจน์; Penprapa Siviroj; ยุทธพงศ์ วงศ์สวัสดิวัฒน์; Yuttapong Wongswadiwat; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paiboon Suriyawongpaisarn; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; Vorasit Sornsrivichai; พยอม ถิ่นอ่วน; Payom Tin-uan; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachotphanit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-02)นโยบายเขตบริการสุขภาพ ซึ่งเริ่มดำเนินการเมื่อ พ.ศ. 2555 นับเป็นอีกก้าวแห่งความพยายามพัฒนาระบบบริการสุขภาพในขอบเขตความรับผิดชอบของกระทรวงสาธารณสุข ภายหลังความพยายามซึ่งมีมาเป็นระลอก ดังตัวอย่างนโยบายพัฒนาบริการสาธารณสุข ... -
การสังเคราะห์ข้อเสนอ ทางเลือกของกลไกเพื่อพัฒนาระบบบริการตรวจคัดกรองสุขภาพ (Health Screening) ในประเทศไทย
จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; บวรศม ลีระพันธ์; Borwornsom Leerapan; ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit; ภรณี เหล่าอิทธิ; กนิษชานันท์ ช่วยเรือง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-03-31)สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 6 มีมติเกี่ยวกับนโยบายการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับประชาชน และมอบหมายให้สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ศึกษาพัฒนากลไกพัฒนาระบบบริการการตรวจสุขภาพในระดับชาติ ถือเป็นความท้าทายที่ส ... -
การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายจากการใช้แบบจำลองสถานการณ์พลวัตระบบการจัดการห่วงโซ่อุปทานของวัคซีนโควิด-19
บวรศม ลีระพันธ์; Borwornsom Leerapan; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; ปณิธี ธัมมวิจยะ; Panithee Thammawijaya; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; Vorasith Sornsrivichai; พาส์น ฑีฆทรัพย์; Pard Teekasap; วรารัตน์ ใจชื่น; Wararat Jaichuen; ปฐมพร ศิรประภาศิริ; Pathomphorn Siraprapasiri; ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; ภาณุวิชญ์ แก้วกำจรชัย; Phanuwich Kaewkamjornchai; แพรวนภา พันธุ์สวาสดิ์; Praewnapa Puntusavase (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)การระบาดใหญ่ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โรคโควิด-19 หรือ COVID-19) เป็นปัญหาที่ซับซ้อน มีพลวัตรสูงและส่งผลกระทบทั้งด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง ทั้งระดับภายในประเทศและระดับนานาชาติ นอกจากผลกระทบโดยตรงต่อด้านส ... -
การสังเคราะห์ข้อเสนอเพื่อสนับสนุนกระบวนการตัดสินใจเชิงนโยบายและการวางแผนการปรับตัวหลังวิกฤตของระบบสุขภาพของประเทศไทย โดยการประยุกต์ใช้แบบจำลองสถานการณ์พลวัตระบบของการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
บวรศม ลีระพันธ์; Borwornsom Leerapan; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; ปณิธี ธัมมวิจยะ; Panithee Thammawijaya; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; Vorasith Sornsrivichai; พาส์น ฑีฆทรัพย์; Pard Teekasap; วรารัตน์ ใจชื่น; Wararat Jaichuen; ปฐมพร ศิรประภาศิริ; Pathomphorn Siraprapasiri; ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; ภาณุวิชญ์ แก้วกำจรชัย; Phanuwich Kaewkamjornchai; แพรวนภา พันธุ์สวาสดิ์; Praewnapa Puntusavase (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)ปัญหาการระบาดใหญ่ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ในประเทศไทย เป็นปัญหาซับซ้อน ความรู้ที่มีอยู่อย่างจำกัดตามธรรมชาติของโรคอุบัติใหม่ ทำให้มีความไม่แน่นอนในการแก้ไขปัญหา ผู้กำหนดนโยบายต้องการข้อมูลที่รอบด้านประกอ ...