Now showing items 1-9 of 9

    • การพัฒนาศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน 

      ลือชัย ศรีเงินยวง; Luechai Sringernyuang; จีรพร แผ้วกิ่ง; อัจฉรา วัฒนาภา; ศุภลัคน์ เลิศมโนรัตน์; ทรงวุฒิ ตวงรัตนพันธ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      รายงานฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1. เพื่อวิเคราะห์และทบทวนสถานการณ์การดูแลสุขภาพตนเอง ของปัจเจก ครอบครัว และชุมชน ทั้งในและต่างประเทศ 2. เพื่อสังเคราะห์ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนในระดับต่างๆ ...
    • การพัฒนาแนวทางและรูปแบบความร่วมมือที่เหมาะสม ระหว่าง ภาคชุมชน ภาครัฐ และภาคเอกชน ในการบริหารจัดการและการดูแลสุขภาพระดับปฐมภูมิ 

      วณิชา ชื่นกองแก้ว; Wanicha Chuenkongkaew; อภิสิทธิ์ ธำรงวรางกูร; Apisit Thamrongwaranggoon; วิชัย อัศวภาคย์; Wichai Ussavaphark; ดุสิตา กระวานชิด; Dusita Krawanchid; มนัสชนน์ คุณาพรสุจริต; Manuschon Kunapornsujarit; ธนวันต์ กัญญภัส; Tanawan Kanyapas (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      การวิจัยเรื่อง การพัฒนาแนวทางและรูปแบบความร่วมมือที่เหมาะสม ระหว่าง ภาคชุมชน ภาครัฐ และภาคเอกชน ในการบริหารจัดการและการดูแลสุขภาพระดับปฐมภูมิ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวทางและรูปแบบความร่วมมือที่เหมาะสม ระหว่างภาคชุมชน ...
    • การพัฒนาแนวปฏิบัติในการดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ 

      มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. สถาบันวิจัยระบบการดูแลผู้สูงอายุไทย คณะพยาบาลศาสตร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา เพื่อพัฒนาและประเมินผลแนวปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน ที่อาศัยในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ โดยมีกระบวนการวิจัย 2 ระยะ คือ ระยะพัฒนาแนวปฏิบัติ และระยะประเมินผล ผู้เข้าร่วมการวิจัยมี 3 กลุ่ม ได้แก่ ...
    • การรับรู้และการเข้าถึงสื่อสาธารณสุขในจังหวัดเชียงราย 

      ปรีชา อุปโยคิน; Phrecha Uphayokin; อภิสม อินทรลาวัณย์; ทรงสรรค์ อุดมศิลป์; รักชนก เจนวรากุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทราบสถานการณ์การรับรู้ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพของประชาชนในจังหวัดเชียงราย โดยการศึกษาในพื้นที่ อำเภอเมือง แม่จัน แม่สาย เชียงแสน เวียงชัย เทิง ป่าแดด และพาน การศึกษาครั้งนี้กลุ่มเป้าหมายมี ...
    • การสำรวจความแตกฉานด้านสุขภาพ (Health literacy) ในกลุ่มประชากรตัวอย่าง สำหรับใช้วิเคราะห์ Psychometric เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง 

      มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. ศูนย์วิจัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-11)
      “Health Literacy” หมายถึง ความสามารถในการค้นหาหรือเข้าถึง สร้างความเข้าใจ และใช้ประโยชน์จากข้อมูลด้านสุขภาพ ในประเทศไทยมีการแปลคำนี้ไว้ต่างกันไป เช่น “ความแตกฉานด้านสุขภาพ” หรือ “การรู้เท่าทันด้านสุขภาพ” หรือ “ความฉลาดทางสุขภาวะ” ...
    • ระบบกายภาพบำบัดของคนไทยในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2548-2557) 

      พรพิมล จันทรวิโรจน์; Pornphimon Chantrawirot (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      ศักยภาพทางกายเป็นองค์ประกอบสําคัญที่ทำให้เกิดสุขภาวะทางกาย จิต สังคม และปัญญา การบกพร่องของศักยภาพทางกายจะส่งผลให้เกิดการสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจและสังคมอย่างมหาศาล วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาว่า “ระบบกายภาพบำบัดจะเติมเต็มศักย ...
    • อายุคาดเฉลี่ยที่มีสุขภาวะของประชาชนเขตสุขภาพที่ 3 ปี พ.ศ. 2565 

      ศักดา ทองดีเพ็ง; Sakda Tongdeepeng; พนิดา ประทุมวัน; Panida Pratumwan; ปิยะวัฒน์ หนูกลัด; Piyawat Hnuklud (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอายุคาดเฉลี่ยที่มีสุขภาวะของประชาชนในเขตสุขภาพที่ 3 ปี พ.ศ. 2565 และจัดลำดับโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาสำคัญในเขตสุขภาพที่ 3 เป็นวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง คำนวณขนาดตัวอย่างด้วยสูตรทาโร่ยามาเน่ ...
    • แนวทางการตรวจสุขภาพของประชาชนไทย 

      ศุภชัย คุณารัตนพฤกษ์; Supachai Kunaratanapruk (แพทยสภาแห่งประเทศไทย, 2543)
    • แนวทางการตรวจสุขภาพและการป้องกันการเจ็บป่วยสำหรับประชาชนไทย 

      สุรจิต สุนทรธรรม; Surajit Sunthorntham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      แนวทางการตรวจสุขภาพและการป้องกันการเจ็บป่วยสำหรับประชาชนไทย เล่มนี้ เป็นสรุปเฉพาะคำแนะนำต่างๆ ในแต่ละโรคไว้ ซึ่งจัดทำขึ้นคู่กับหนังสือ เวชศาสตร์ป้องกันคลินิก : แนวทางการตรวจสุขภาพและการป้องกันการเจ็บป่วยสำหรับประชาชน ...