Now showing items 1-8 of 8

    • การจัดทำทิศทางและโจทย์วิจัยเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sriphan Tantiwet; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; พักตร์วิภา สุวรรณพรหม; Puckwipa Suwannaprom; ศิริตรี สุทธจิตต์; Siritree Suttajit; อัญชลี จิตรักนที; Anchalee Jitraknatee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      แผนงานวิจัยและพัฒนาระบบยา สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ถูกจัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2552 และให้การสนับสนุนทุนวิจัยรวมทั้งจัดการงานวิจัยอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากสถานการณ์ในระบบยาของประเทศและปัจจัยแวดล้อม ...
    • การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับการทำ Managed Entry Agreement (MEA) 

      ชะอรสิน สุขศรีวงศ์; Cha–oncin Sooksriwong; ปิยพัทธ์ โอวาท; Piyapat Owat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      เมื่อยาที่มีราคาแพงหรือยาใหม่ที่มีข้อมูลเกี่ยวกับประสิทธิภาพของยาที่ยังไม่สมบูรณ์ออกสู่ตลาด จะมีผลกระทบต่อผู้ซื้อบริการสุขภาพในฐานะที่เป็นผู้จ่ายเงินในระบบสุขภาพ การทำข้อตกลงในรูปแบบ managed entry agreement หรือ MEA ...
    • การพัฒนากลไกการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมต่อนโยบายของรัฐ เพื่อสนับสนุนการเข้าถึงยาของประชาชนไทย 

      อุษาวดี สุตะภักดิ์; กรรณิการ์ กิจติเวชกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-01)
      ‘การไม่เข้าถึงยาจำเป็น’ ของผู้ป่วยยังเป็นปัญหาสำคัญในระบบสาธารณสุขไทย กว่าสิบปีที่ผ่านมาจึงมีความพยายามจากหลายภาคส่วน อาทิ นักวิชาการและภาคประชาสังคมที่ร่วมกันผลักดันให้มีการแก้ไขกฎหมาย/กฎระเบียบ/หรือข้อเสนอต่อการดำเนินง ...
    • การพัฒนาศักยภาพของเภสัชกรในการวิเคราะห์ข้อมูลการสั่งใช้ยาจากฐานข้อมูล OP 18 แฟ้มมาตรฐาน 

      โครงการพัฒนาสารสนเทศด้านยาของผู้ป่วยนอกรายบุคคลในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556)
      วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของเภสัชกรผู้ปฏิบัติงานในระบบยาของโรงพยาบาลในการวิเคราะห์ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ OP 18 แฟ้ม เพื่อใช้ในการประเมินการเข้าถึงยาภายใต้ระบบประกันสุขภาพ และคุณภาพการสั่งใช้ยา 2. เพื่อพัฒนา ...
    • การวิเคราะห์การเข้าถึงยาบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชียา จ(2) 

      ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittirachakool; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; เนตรนภิส สุชนวนิช; Netnapis Suchonwanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      การเข้าถึงยา (access to medicine) ถือเป็นกุญแจสำคัญที่บ่งบอกความสำเร็จของระบบสาธารณสุขในประเทศนั้นๆ จากรายงานของ World Health Organization (WHO) ในปี 2004 ชี้ให้เห็นตัวเลข 1 ใน 3 ของประชากรของโลกยังไม่สามารถเข้าถึงยาที่ม ...
    • การวิเคราะห์สถานการณ์การเข้าถึงยาจำเป็นในประเทศไทย : ความไม่สอดคล้องของนโยบาย 

      ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan; กมลวรรณ เขียวนิล; Kamonwan Kiewnin; จีรภา โสสม; Jeerapa Sosom; มินตรา หงษ์ธำรง; Mintar Hongtumrong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-10)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ความไม่สอดคล้องของนโยบายที่เกี่ยวเนื่องกับการเข้าถึงยาจำเป็นในประเทศไทย โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ความสอดคล้องของนโยบาย (policy coherence analysis) ซึ่งเริ่มจากการรวบรวมนโยบายและกฎ ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาร้านยาคุณภาพที่เป็นหน่วยร่วมบริการกับคลินิกหมอครอบครัว 

      สุณี เลิศสินอุดม; Sunee Lertsinudom; วัชรพงษ์ รินทระ; Watcharapong Rintara; อุษณีย์ วนรรฆมณี; Usanee Wanakamanee; ชวนชม ธนานิธิศักดิ์; Chuanchom Thananithisak; พจนาลัย อนุสรณ์พาณิชกุล; Podjanalai Anusornpanichakul; เพ็ญทิพา แก้วเกตุทอง; Pentipa Kaewketthong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      บทนำ: การทำงานของคลินิกหมอครอบครัวมีข้อจำกัดคือเภสัชกรไม่เพียงพอ ร้านยาที่เป็นหน่วยร่วมบริการสามารถช่วยเติมเต็มระบบการทำงานด้านเภสัชกรรมให้สมบูรณ์ขึ้น วิธีการวิจัย: วิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action ...
    • การสังเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงยากลุ่มโอปิออยด์ สำหรับการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง ในประเทศไทย 

      จอมขวัญ โยธาสมุทร; Jomkwan Yothasamut; กานต์พีชญา เนตรพิสิทธิ์กุล; Kanpechaya Netpisitkul; ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; จุฑามาศ พราวแจ้ง; Juthamas Prawjaeng; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12-18)
      ปัจจุบันในประเทศไทยมีผู้ป่วยระยะท้ายที่ต้องการการดูแลแบบประคับประคองเพิ่มมากขึ้น ยาแก้ปวดกลุ่มโอปิออยด์จัดเป็นยาที่จำเป็นในการบรรเทาอาการปวดชนิดรุนแรง ซึ่งช่วยลดความทรมานและทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่างชัดเจน ...