Now showing items 1-5 of 5

    • การทบทวนและจัดทำแผนที่ระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อในประเทศไทย 

      ปรีชา เปรมปรี; ลดารัตน์ ผาตินาวิน; สมบุญ เสนาะเสียง; กนกทิพย์ ทิพย์รัตน์; สุวรรณา เทพสุนทร; สมเจตน์ ตั้งเจริญศิลป์; เสาวพักตร์ ฮิ้นจ้อย; ธีระศักดิ์ ชักนำ; ฐิติพงษ์ ยิ่งยง; อัญชนา วากัส; อมรรัตน์ หล่อธีรนุวัฒน์ (สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค, 2552)
      ปัจจุบันการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์และการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อ ส่วนใหญ่ต้องใช้ข้อมูลสารสนเทศของโรคนั้นๆ เป็นพื้นฐาน เช่น ขนาดของปัญหา สถานการณ์และลักษณะทางระบาดวิทยาของโรค สถานการณ์ของเชื้อโรคและพาหะนำโรค ...
    • การพัฒนากระบวนการและฐานข้อมูล ระบบเฝ้าระวังโรคติดเชื้อโควิด-19 สำหรับกลุ่มประชากรไทยข้ามพรมแดน ในเขตสุขภาพที่ 12 

      พลเทพ วิจิตรคุณากร; Polathep Vichitkunakorn; ชนนท์ กองกมล; Chanon Kongkamol; ธรรมสินธ์ อิงวิยะ; Thammasin Ingviya; สิทธิโชค ไชยชูลี; Sitthichok Chaichulee; ภูมิใจ สรเสณี; Phoomjai Sornseranee; ทรงยศ ราชบริรักษ์; Songyos Rajborirak; คณกรณ์ หอศิริธรรม; Kanakorn Horsiritham; สรณีย์ หอศิริธรรม; Soranee Hosiritham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 ส่งผลให้คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสงขลา มีการมอบหมายอำนาจและหน้าที่ให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภายใต้การรับผิดชอบของคณะแพทยศาสตร์ ดำเนินการโปรแกรมติดตามผู้เดินทางมาจากประเทศมาเลเซีย ...
    • การพัฒนาระบบการเตือนภัยสุขภาพจากความร้อนแบบมีส่วนร่วมจากชุมชนและระบบเฝ้าระวังโรคที่สัมพันธ์กับความร้อน 

      พงศ์เทพ วิวรรธนะเดช; Phongtape Wiwatanadate; มยุรา วิวรรธนะเดช; Mayura Wiwatanadate; วันวิสาข์ ชูจิตร; Wanwisa Chujit; จุรีรัตน์ มัฎฐาพันธ์; Jureerat Matthaphan; ธารทิพย์ พรหมขัติแก้ว; Tharntip Promkutkao (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-05)
      โครงการนี้เป็นการศึกษาเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา 2 ระบบ ที่เกี่ยวข้องกัน โดยมีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) เป็นแกนหลักในการดำเนินการ คือ ระบบเตือนภัยสุขภาพจากความร้อนและระบบเฝ้าระวังโรคท ...
    • การวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ไข้หวัดนกในประเทศไทย 

      ปรีชา เปรมปรี; ฉันทนี บูรณะไทย; เสาวพักตร์ ฮิ้นจ้อย; ถนอม น้อยหมอ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      การแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนกในสัตว์และคนตั้งแต่ปลายปี 2546 จนถึงปัจจุบัน (ข้อมูลถึงมกราคม 2549) ได้มีการแพร่ระบาดได้เกิดขึ้นจำนวนสามรอบ ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยและนานาประเทศเป็นอย่างมาก ...
    • การศึกษาภูมิคุ้มกันโควิด-19 ในชุมชนจังหวัดปัตตานี 

      วิพุธ พูลเจริญ; Wiput Phoolcharoen; ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา; Thiravat Hemachudha; อรัญ รอกา; Aran Roka; นินี สุไลมาน; Ninee Sulaiman; ณัฐวุฒิ ทองคง; Nattawut Thongkong; ฮาเซ็ม บีมา; Hasem Beema (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)
      การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 จากเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 เริ่มเข้าสู่ประเทศไทยในต้นปี 2563 และแพร่กระจายเป็นภัยคุกคามโลกอย่างกว้างขวาง (Pandemic) มีผู้ป่วยใน 2 ปี มากกว่า 500 ล้านคน และเสียชีวิตกว่า 6 ล้านคน ทุกประเทศต้องประก ...