Now showing items 1-12 of 12

    • กลไกและปัจจัยในการจัดการให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลโดยภาคประชาชน 

      พักตร์วิภา สุวรรณพรหม; หทัยกาญจน์ เชาวนพูนผล; ศิริตรี สุทธจิตต์; รัตนาภรณ์ อาวิพันธ์; ภูริดา เวียนทอง; ท้ัชชัย เรือนแปง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555)
      การศึกษานี้ใช้การทบทวนวรรณกรรมตั้งแต่ปี ค.ศ. 2002 - 2012 และการสัมภาษณ์เชิงลึกบุคลากรทางการแพทย์ ผู้นำชุมชน และประชาชนผู้ใช้ยา ในชุมชนที่มีประสบการณ์การสร้างเสริมศักยภาพของประชาชนร่วมกับการสนทนากลุ่ม เพื่อทบทวนรูปแบบ กลไก ...
    • การจัดทำทิศทางและโจทย์วิจัยเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sriphan Tantiwet; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; พักตร์วิภา สุวรรณพรหม; Puckwipa Suwannaprom; ศิริตรี สุทธจิตต์; Siritree Suttajit; อัญชลี จิตรักนที; Anchalee Jitraknatee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      แผนงานวิจัยและพัฒนาระบบยา สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ถูกจัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2552 และให้การสนับสนุนทุนวิจัยรวมทั้งจัดการงานวิจัยอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากสถานการณ์ในระบบยาของประเทศและปัจจัยแวดล้อม ...
    • การทบทวนกลไก วิธีการ หรือ รูปแบบในการจัดการให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลในสถานบริการสาธารณสุขภาครัฐ 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; อัญชลี จิตรักนที (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06-05)
      งานวิจัยชิ้นนี้ได้ทำการทบทวนเอกสารเพื่อศึกษากลไกระดับชาติในการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในภาครัฐที่เคยมีการดำเนินการและที่กำลังดำเนินการในปัจจุบัน ภายใต้ข้อแนะนำขององค์การอนามัยโลก และได้ทำการเก็บ primary data ...
    • การประเมินการกระจายแนวคิดและบรรทัดฐานของสังคมเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล 

      สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; พัชรี ดวงจันทร์; Patcharee Duangchan; กัญญดา อนุวงศ์; Kunyada Anuwong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
      นับตั้งแต่เริ่มดำเนินโครงการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล (ASU) เมื่อปี 2550 เป็นต้นมา ASU ยังคงมีการดำเนินอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน มีสถานพยาบาลที่ดำเนินโครงการนี้เพิ่มมากขึ้นในแต่ละปี ภายใต้ความร่วมมือของภาค ...
    • การวิเคราะห์คำถามงานวิจัยสำหรับระบบยาและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านยา 

      อดุลย์ โมฮารา; Adun Mohara; คัคนางค์ โตสงวน; Kakanang Tosanguan; นพคุณ ธรรมธัชอารี; Noppakun Thammatacharee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-11)
      ด้วยสถานการณ์ระบบยาในประเทศมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา งานวิจัยที่วิเคราะห์สถานการณ์ในประเทศเพื่อกำหนดประเด็นคำถามงานวิจัยที่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันของระบบยาจึงมีความจำเป็น วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาสถานการ ...
    • การวิเคราะห์พลวัตระบบของปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในภาคประชาชน รูปแบบระดับจังหวัด : กรณีศึกษาจังหวัดนครนายก 

      อิสรีย์ฐิกา ชัยสวัสดิ์ จันทร์ส่องสุข; Isareethika Jayasvasti Chantarasongsuk; นิภาพร เอื้อวัณณะโชติมา; Nipaporn Urwannachotima; พาสน์ ทีฆทรัพย์; Pard Teekasap (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-10)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ของปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลของภาคประชาชนด้วยแนวคิดของระบบที่ซับซ้อนและมีการเปลี่ยนแปลงตามเวลาโดย 1) การสร้างวงจรความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ...
    • การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555 

      สมาคมเภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย); มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะเภสัชศาสตร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผลพบได้ทั้งในกลุ่มผู้ใช้ยาและผู้สั่งจ่าย ทั้งในสถานพยาบาลและร้านยา โดยเฉพาะในโรคหวัดที่พบว่า ประชาชนเกินกว่าครึ่งที่ใช้ยาปฏิชีวนะในการรักษา เป็นส่วนหนึ่งของการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่เหมาะสม ...
    • การส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use : การศึกษาการขยายผลสู่ความยั่งยืนโดยการสร้างบรรทัดฐานใหม่ทางสังคม (พ.ศ. 2554 – 2556) 

      นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      เชื้อแบคทีเรียดื้อยาจากการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผลได้กลายเป็นวิกฤตร่วมของคนทั่วโลก รวมทั้งของประเทศไทย เนื่องจากแบคทีเรียมีการปรับตัวให้ดื้อต่อยาปฏิชีวนะส่งผลให้ยาปฏิชีวนะที่มีใช้ในปัจจุบันไม่มีประสิทธิภาพในการรักษา ...
    • การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อ ลด ละ เลิก การใช้ยาปฏิชีวนะผิดๆ ในชุมชน ปี พ.ศ. 2555 

      สมาคมเภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย); มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะเภสัชศาสตร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      ปัญหาการเรียกหายาปฏิชีวนะอย่างผิดเป็นปัญหาซึ่งหน้าของเภสัชกรร้านยา ที่มุ่งมั่นในการแก้ปัญหาสุขภาพนี้ด้วยความนุ่มนวลและอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดการความรู้/ความเชื่อที่สุจริต ส่งผลต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ยาที่ ...
    • ตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของประเทศไทย 

      เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; ศิริขวัญ บริหาร; วีระศักดิ์ พุทธาศรี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      การใช้ยาไม่สมเหตุผลเป็นปัญหาสำคัญของประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ยาเกินความจำเป็น การใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่คำนึงถึงเชื้อดื้อยา การใช้ยาราคาแพงนอกบัญชียาหลัก การใช้ยาที่มีความเสี่ยงต่อความไม่ปลอดภัย การใช้ยาโดยบุคลากรทางการแ ...
    • ผลลัพธ์ต่อพฤติกรรมการสั่งยาและผู้ป่วยจากการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; เชิดชัย สุนทรภาส; Cheardchai Soontornpas; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; Onanong Waleekhachonloet; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachotphanit; รัชฎาพร สุนทรภาส; Ratchadaporn Soontornpas; เบญจพร ศิลารักษ์; Benjaporn Silaruks; รัชตะ อุลมาน; Ratchata Unlamarn; ภคอร อุลมาน; Phakaon Unlamarn; นรภัทร จิตไธสง; Norapat Jitthaisong; ธิติ ทุมเสน; Thiti Tumsen; พิมพ์ประภา กิจวิธี; Pimprapa Kitwitee; จาติกา รัตนดาดาษ; Jatica Ratanadadas (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-03)
      งานวิจัยนี้ประเมินผลการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล (นโยบาย RDU Hospital/RDU Service Plan) โดยมุ่งเน้นผลลัพธ์ที่เกิดจากนโยบาย อาศัยการวิเคราะห์ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ขนาดใหญ่ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มของตั ...
    • แผนงานวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการใช้ยาที่เหมาะสมในประเทศไทย : รายงานสรุป 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-02)
      วัตถุประสงค์ของแผนงาน 1. เพื่อพัฒนาระบบและกลไกการส่งเสริมการใช้ยาที่เหมาะสมในรูปแบบต่างๆ ทั้งการจัดระบบบริการด้านยา การเสริมศักยภาพประชาชน และการสร้างบรรทัดฐานทางสังคมโดยเฉพาะด้านการใช้ยาต้านจุลชีพ 2.เพื่อประเมินขนาด สาเหตุ ...