Browsing Research Reports by Subject "คุณภาพชีวิต"
Now showing items 1-20 of 21
-
การจัดทำแผนที่ความเสี่ยง การติดตามการปนเปื้อนและประเมินผลกระทบต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตของชุมชน จากมลพิษทางอากาศจากโรงไฟฟ้าถ่านหินตกสะสมในสิ่งแวดล้อม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)งานวิจัยนี้พัฒนาเครื่องมือและระบบข้อมูลเพื่อเก็บข้อมูล หลักฐาน สำหรับการเฝ้าระวังผลกระทบจากมลพิษทางอากาศข้ามพรมแดนต่อสุขภาพและการประกอบอาชีพของประชาชน โดยใช้ประชาชน 8 หมู่บ้าน ในตำบลห้วยโก๋นและตำบลขุนน่าน อำเภอเฉลิมพระเกียรติ ... -
การประยุกต์ใช้ระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพในการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานในสถานประกอบการ : กรณีศึกษาบริษัทแปซิฟิกแปรรูปสัตว์น้ำ จังหวัดสงขลา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)ผลจากการขยายตัวทางด้านอุตสาหกรรมของในประเทศไทยที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้ความต้องการแรงงานในภาคอุตสาหกรรมเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในจังหวัดที่มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ซึ่งส่งผลต่อความต้องการจ้างแรงงานเพิ่มขึ้น จังหวัดสงขลาเป็ ... -
การประเมินผลคุณภาพการดูแลและผลลัพธ์ของผู้ป่วยโรคหืดที่เป็นผู้ใหญ่ในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการสร้างเครื่องมือเพื่อประเมินคุณภาพการดูแลรวมทั้งผลลัพธ์ในผู้ป่วยโรคหืดที่เป็นผู้ใหญ่ โดยทำการวิจจัยเป็น 3 ช่วง ช่วงที่ 1 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อหาภาระโรคตลอดจนปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพการดูแ ... -
การพัฒนาระบบเฝ้าระวังผลกระทบทางสุขภาพโดยชุมชน จังหวัดน่าน ประเทศไทย กรณี มลพิษข้ามพรมแดนจากโรงไฟฟ้าถ่านหินหงสา ประเทศลาว
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)ชุมชนในอำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน กำลังเผชิญกับความเสี่ยงมลพิษข้ามพรมแดนจากโรงไฟฟ้าถ่านหิน ขนาด 1,878 เมกกะวัตต์ ตั้งอยู่ที่เมืองหงสา แขวงไซยะบุรี ซึ่งเป็นพื้นที่ชายแดนติดกับจังหวัดน่านของประเทศไทย การที่โรงไฟฟ้าไป ... -
การพัฒนารูปแบบการบริบาลและการรักษาพยาบาลผู้สูงอายุระดับปฐมภูมิในสังคมปกติวิถีใหม่: ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการปฏิรูประบบสาธารณสุข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)การพัฒนารูปแบบการบริบาลและการรักษาพยาบาลผู้สูงอายุระดับปฐมภูมิในสังคมปกติวิถีใหม่ ถือเป็นความท้าทายของประเทศเพื่อเตรียมรองรับสังคมสูงอายุสุดขีด (Hyper-aged society) ในอีก 9 ปีข้างหน้า การออกแบบนวัตกรรมการบริบาลและการรักษ ... -
การพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยและขับเคลื่อนงานของครูข้างถนน ประสบการณ์เรื่องเล่าการทำงานภาคสนามของครูข้างถนน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)โครงการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพและอบรมองค์ความรู้ ทักษะแนวทางความคิดเพื่อการทำงานกับเด็กและเยาวชน เพื่อสังเคราะห์องค์ความรู้การทำงานของครูข้างถนนกับเด็กกลุ่มเปราะบาง รวมถึงการค้นหาและข้อจำกัดของระบบและผลั ... -
การพัฒนาและใช้ระบบข้อมูลเฝ้าระวังชุมชนเพื่อเตรียมความพร้อมต่อการรับมือกับปัญหามลพิษข้ามพรมแดน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)โครงการศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาและใช้ระบบข้อมูลเฝ้าระวังชุมชนเพื่อเตรียมความพร้อมต่อการรับมือกับปัญหามลพิษข้ามพรมแดน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิถีชีวิต เศรษฐกิจชุมชนและข้อมูลสุขภาพชุมชน รวมถึงเพื่อศึกษาทรัพยากรชุมชนและปร ... -
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดนโยบายสาธารณะเกี่ยวกับคุณภาพชีวิต : กรณีศึกษาการร่างรัฐธรรมนูญในระดับจังหวัด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544) -
การวิเคราะห์ต้นทุนอรรถประโยชน์ของการล้างไตผ่านทางช่องท้องด้วยวิธี Automated Peritoneal Dialysis เปรียบเทียบกับ Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis ในผู้ป่วยเด็กโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายโดยใช้วิธีแบบจำลองมาร์คอฟ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)บทนำ : ในปัจจุบันการล้างไตด้วยวิธี Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis (CAPD) บรรจุในชุดสิทธิประโยชน์ของสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ในขณะที่วิธี Automated Peritoneal Dialysis (APD) มีค่าใช้จ่ายที่สูงและยังไม่บรรจ ... -
การศึกษาคุณภาพชีวิตและผลลัพธ์ทางคลินิกในการล้างไตผ่านทางช่องท้องด้วยวิธี Automated Peritoneal Dialysis เปรียบเทียบกับ Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis ในผู้ป่วยเด็กโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09-30)บทนำ : การล้างไตผ่านทางช่องท้อง (Peritoneal Dialysis, PD) เป็นการบำบัดทดแทนไตตัวเลือกส่วนใหญ่สำหรับผู้ป่วยเด็กโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย (End Stage Kidney Disease, ESKD) ซึ่ง Automated Peritoneal Dialysis (APD) เป็นวิธีล้า ... -
การศึกษาเชิงนโยบายใน 10 ปีข้างหน้าต่อการเข้าถึงการบริการสุขภาพของผู้สูงอายุ จังหวัดปทุมธานี ในสถานการณ์ระบาดของโควิด-19 ระลอก 5
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ส่งผลกับการให้บริการของสถานพยาบาลทุกระดับ มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบในการบริการ ผู้สูงอายุมีการรับรู้ที่จำกัดเกี่ยวกับระบบริการสุขภาพ และเมื่อเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ... -
การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-10)ภูมิหลัง: อำเภอเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญในการพัฒนาระบบสุขภาพตามแนวคิดพื้นที่เป็นฐาน ประชาชนเป็นศูนย์กลาง ซึ่งสอดคล้องกับหลักการของการสาธารณสุขมูลฐาน (Primary Health Care: PHC) ตามปฏิญญาอัลมา อะต้า ค.ศ. 1978 และปฏิญญาอัสตานา ... -
การใช้ดัชนีบ่งชี้ทางเคมีและชีวภาพเพื่อติดตามตรวจสอบมลพิษทางอากาศและการพัฒนาเครื่องมือสำหรับชุมชนในการเฝ้าระวังคุณภาพอากาศ อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ตรวจวัดคุณภาพอากาศภายในชุมชนอำเภอเฉลิมพระเกียรติโดยใช้ดัชนีบ่งชี้ทางเคมีและทางชีวภาพ 2) พัฒนาดัชนีบ่งชี้ทางเคมีเพื่อเป็นเครื่องมือสำหรับในการเฝ้าระวังคุณภาพอากาศสำหรับชุมชน 3) เพื่อถ่ายท ... -
ข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะ กองทุนระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Long Term Care : LTC)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-08)สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศไทยที่เข้าสู่ภาวะสังคมผู้สูงอายุแบบก้าวกระโดด ส่งผลให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังและการประสบภาวะทุพพลภาพเพิ่มสูงขึ้นและความต้องการการดูแลยิ่งทวีเพิ่มสูงขึ้นตาม ... -
คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีและไม่มีภาวะแทรกซ้อนและแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังที่มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกปี ซึ่งโรคนี้ก่อให้เกิดอาการที่ไม่พึงประสงค์และภาวะแทรกซ้อนที่อวัยวะสำคัญที่ผู้ป่วยต้องจัดการ ซึ่งทำให้มีผลกระทบต่อระดับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย วัตถุประ ... -
รายงานผลการสำรวจปัญหาสังคมและสาธารณสุขคนงานก่อสร้างในประเทศไทย พ.ศ.2538
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)รายงานผลการสำรวจปัญหาสังคมและสาธารณสุขของคนงานก่อสร้างในประเทศไทย พ.ศ. 2538 การสำรวจแบบตัดขวางในเขตพื้นที่เมืองใหญ่ ๆ ของประเทศ อันได้แก่ กรุงเทพมหานคร ภาคเหนือที่จังหวัดเชียงใหม่และพิษณุโลก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่จังหว ... -
รูปแบบการพัฒนานโยบายสาธารณะกองทุนดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชนอีสาน ภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-04)การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนานโยบายสาธารณะด้านสุขภาพ (Participation Health Public Policy) กองทุนระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชนอีสาน ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสำรวจ การสังเกต การสัมภาษณ์เจาะลึก การสนทนากลุ่ม ... -
สถานะสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชากรวัยแรงงานไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)ประชากรวัยแรงงานเป็นกลุ่มประชากรหลักในการสร้างผลผลิต และต้องดูแลกลุ่มประชากรวัยอื่น ๆ ของประเทศ ดังนั้นสถานะสุขภาพของประชากรวัยแรงงานสามารถบ่งบอกถึงสภาวะสุขภาพของประชากรไทยรวมทั้งประเทศ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ ... -
อายุคาดเฉลี่ยที่มีสุขภาวะของประชาชนเขตสุขภาพที่ 3 ปี พ.ศ. 2565
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอายุคาดเฉลี่ยที่มีสุขภาวะของประชาชนในเขตสุขภาพที่ 3 ปี พ.ศ. 2565 และจัดลำดับโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาสำคัญในเขตสุขภาพที่ 3 เป็นวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง คำนวณขนาดตัวอย่างด้วยสูตรทาโร่ยามาเน่ ... -
แนวทางการจัดสรรทรัพยากรเพื่อการลงทุนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)แนวทางการจัดสรรทรัพยากรเพื่อการลงทุนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาการจัดสรรงบประมาณที่รัฐให้แก่ผู้สูงอายุ เพื่อดูความสนใจของรัฐต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ และเพื่อดูว่าถ้ารัฐ ...