Now showing items 1-10 of 10

    • กลไกธรรมาภิบาลในการควบคุมวิชาชีพเวชกรรมในต่างประเทศ : กรณีศึกษาประเทศสหราชอาณาจักร นิวซีแลนด์ และแอฟริกาใต้ 

      ไพศาล ลิ้มสถิตย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-04)
      การศึกษาวิจัยเรื่องกลไกธรรมาภิบาลในการควบคุมวิชาชีพเวชกรรมในต่างประเทศ : กรณีศึกษาประเทศสหราชอาณาจักร นิวซีแลนด์ และแอฟริกาใต้ โดยเน้นเรื่องบทบาทหน้าที่ขององค์กรควบคุมกำกับดูแลผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมคือ แพทยสภา ...
    • การทบทวนระบบธรรมาภิบาลในด้านการวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพ เพื่อสร้างความเข้มแข็งของระบบสุขภาพของประเทศไทย 

      นารีรัตน์ ผุดผ่อง; กานต์วรินต์ ก่องกุลวัฒน์ (สำนักงานวิจัยและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ (สวค.) สำนักงานพัฒนานโนบายสุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข, 2559-03)
      การศึกษาเรื่องธรรมาภิบาลที่เกี่ยวข้องกับกำลังคนด้านสุขภาพนั้นทั้งในระดับนานาชาติและระดับประเทศนั้นยังมีไม่มาก ในประเทศไทยได้มีการกล่าวถึงเรื่องธรรมาภิบาลกันอย่างกว้างขวางในช่วง 10-20 ปีที่ผ่านมา โดยแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและ ...
    • การพัฒนาดัชนีชี้วัดความเชื่อมั่นของประชาชนต่อระบบสุขภาพ 

      โครงการปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาธรรมาภิบาล มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      ตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) ที่ต้องการให้มีการสร้างเอกภาพและธรรมาภิบาลในการจัดการระบบสุขภาพที่สมดุลและยั่งยืนและมีระบบบริการสุขภาพและการแพทย์ที่มีประสิทธิภาพ มีการใช้เทคโนโลยีอย่างพอประมาณตามห ...
    • การศึกษาทบทวนสถานการณ์ธรรมาภิบาลระบบสุขภาพ 

      มานวิภา อินทรทัต; อาจยุทธ เนติธนากูล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ด้วยเป้าหมายหลักของการพัฒนาระบบสุขภาพไทย คือ การมีธรรมภิบาลในการจัดระบบสุขภาพให้สมดุลและยั่งยืน เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรงและมีสุขภาวะที่ดี ดังนั้นจึงต้องทราบถึงสถานการณ์ปัจจุบันของธรรมภิบาลระบบสุขภาพ จุดประสงค์ของงา ...
    • การสนับสนุนธรรมภิบาลของ อบต.และการมีส่วนร่วมของประชาชน : การเรียนรู้ร่วมกับท้องถิ่น ระยะที่ 2 

      ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; Direk Patamasiriwat; ณัฐเชษฐ์ พูลเจริญ; วรรณา พงษ์ถิ่นทองงาม; วิทยา คามุณี; ครรชิต สุขนาค; ธนวัฒน์ ขวัญบุญ; Natachet Phulcharoen; Wanna Phongthinngam; Witaya Damunee; Khanchit Suknak; Thanawat Khanbun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) เป็นองค์กรน้องใหม่ อยู่ในระยะของการเปลี่ยนผ่าน (transitional state) ซึ่งสอดคล้องกับหลักการกระจายอำนาจจากส่วนกลางให้กับท้องถิ่น ในแง่หนึ่งได้มีมาตรการเพิ่มพลังให้ท้องถิ่น (empowerment) ...
    • การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับความเชื่อมั่นต่อระบบสุขภาพ พ.ศ. 2555 

      สำนักงานสถิติแห่งชาติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555)
      การพัฒนาระบบสุขภาพไปสู่ระบบที่พึงประสงค์ หมายถึงการมีระบบต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบย่อย เช่น ระบบสร้างเสริมสุขภาพ ระบบป้องกันควบคุมโรค ระบบการคุ้มครองผู้บริโภค ระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ เป็นธรรมต่อประชาชน ...
    • ขบวนการแพทย์ชนบทกับการธรรมาภิบาลระบบสุขภาพ 

      โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; นภนาท อนุพงศ์พัฒน์; ระชา ภุชชงค์ (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2556)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา วิเคราะห์ขบวนการแพทย์ชนบทด้วยมุมมองเชิงวิพากษ์ให้ได้มาซึ่งบทเรียน จุดแข็งจุดอ่อน และวิวัฒนาการที่มีผลต่อระบบธรรมาภิบาลสุขภาพไทย โดยมีคำถามวิจัยที่สำคัญคือ ขบวนการแพทย์ชนบทที่มีพัฒนาการกว่า ...
    • คู่มือปฏิบัติการธรรมาภิบาลหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพ 

      เดชรัต สุขกำเนิด; รุ่งทิพย์ สุขกำเนิด (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03-31)
      เป็นเอกสารที่จัดทำขึ้นเพื่อให้ผู้ประเมินใช้เป็นแนวทางในการประเมินธรรมาภิบาลการบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพ (สวรส.และเครือสถาบัน) ขณะเดียวกันแนวทางดังกล่าวยังสามารถที่จะช่วยให้หน่วยบริหารจั ...
    • ดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาลหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพ 

      เดชรัต สุขกำเนิด (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-10)
      การดำเนินโครงการพัฒนาดัชนีชี้วัดธรรมาภิบาลหน่วยบริหารจัดการงานวิจัยในระบบสุขภาพ เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิจัยของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขและเครือข่าย เพื่อส่งเสริมให้การดำเนินงานบริหารจัดการงานวิจัยให้โปร่งใส ...
    • รูปแบบความสัมพันธ์ของการบริหารราชการส่วนภูมิภาคและราชการส่วนท้องถิ่นอย่างมีธรรมาภิบาล 

      กิตติพัฒน์ แสนทวีสุข; Kittipat Saentaweesuk; ดนัย พาหุยุทธ์; ดราภรณ์ เดชพลมาตย์; Danai Pahuyut; Daraporn Detphonmat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      ในการวิจัยรูปแบบความสัมพันธ์ของการบริหารราชการส่วนภูมิภาคและราชการส่วนท้องถิ่นอย่างมีธรรมาภิบาล ได้เน้นเพื่อศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ของการบริหารงานของผู้ว่าราชการจังหวัดแบบบูรณาการ ที่มีต่อหน่วยราชการส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ...