• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
Research Reports เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • Research Reports เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • Research Reports เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Research Reports เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "บริการทางการแพทย์"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-20 จาก 68

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • 15 กรณีศึกษาว่าด้วยความทุกข์กับระบบบริการสุขภาพ 

      สารี อ๋องสมหวัง; Saree Aungsomwang; สุกรานต์ โรจนไพรวงศ์; อภิญญา ตันทวีวงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
    • การค้นหาแนวคิดเรื่องสิทธิและความเป็นธรรมในสุขภาพจากมุมมองทางสังคมและวัฒนธรรมเพื่อการปฏิรูปการดูแลสุขภาพในประเทศไทย 

      สุวจี จันทร์ถนอม-กู๊ด; Suvajee Chanthanom-Good (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การค้นหาแนวคิดเรื่องสิทธิและความเป็นธรรมในสุขภาพจากมุมมองทางสังคมและวัฒนธรรมเพื่อการปฏิรูปการดูแลสุขภาพในประเทศไทย การค้นหาแนวคิดเกี่ยวกับสิทธิและความเป็นธรรมทางสุขภาพ จากมุมมองของสังคมและ วัฒนธรรมไทย เป็นงานวิจัยที่พยาย ...
    • การจัดกลไกการให้ข้อมูลของระบบหลักประกันสุขภาพที่เหมาะสมสำหรับผู้บริโภค 

      ปิยะฉัตร ชื่นตระกูล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-09)
      ผลการศึกษาเรื่องการจัดกลไกการให้ข้อมูลของระบบหลักประกันสุขภาพที่เหมาะสมสำหรับผู้บริโภค มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลไกและกระบวนการให้ข้อมูลขององค์กรในระบบหลักประกันสุขภาพ ตลอดจนศึกษาประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของกลไกและกระบวนการ ...
    • การจัดสรรเงินและสถานการณ์การเงินสถานบริการระดับปฐมภูมิ (สถานีอนามัย) ภายใต้การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      พินิจ ฟ้าอำนวยผล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-08)
      การบริการระดับปฐมภูมิ เป็นระบบบริการที่มีความสำคัญต่อระบบบริการสุขภาพ เนื่องจากเป็นบริการด่านแรก มุ่งเน้นการบริการที่ต่อเนื่องและผสมผสาน จึงจำเป็นที่จะต้องได้รับการสนับสนุนอย่างเพียงพอเพื่อการให้บริการที่มีประสิทธิภาพ ...
    • การทบทวนข้อมูลเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การจัดบริการในหน่วยบริการปฐมภูมิภายใต้โครงสร้างกระทรวงสาธารณสุข 

      สุพัตรา ศรีวณิชชากร (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2551)
      หน่วยบริการปฐมภูมิเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สำคัญในกลยุทธ์การพัฒนาตามปรัชญาและหลักการสาธารณสุขมูลฐาน ซึ่งประกาศโดยองค์การอนามัยโลก ที่อัลมาอัลตา เป็นหน่วยบริการสาธารณสุขที่อยู่ใกล้บ้าน ใกล้ที่ทำงาน เป็นส่วนสำคัญที่ประกันการเ ...
    • การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ การวิจัยเพื่อนำนโยบายสาธารณสุขสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ 

      ศิรินาถ ตงศิริ; ศุภวิตา แสนศักดิ์; ชนัตถา พลอยเลื่อมแสง; วรพจน์ พรหมสัตยพรต; สุมัทนา กลางคาร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01)
      การนำนโยบายไปปฏิบัติในพื้นที่ต้องการองค์ความรู้ที่แตกต่างออกไปจากการพัฒนานโยบายการวิจัยเพื่อนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ (Implementation research: IR) เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการนโยบาย (policy process) มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากลยุทธ์ ...
    • การบริหารจัดการระบบบริการทางการแพทย์กรณีฉุกเฉินตามนโยบายบริหารจัดการร่วมสามกองทุน 

      สิรินาฏ นิภาพร; อรวรรณ ประสิทธิ์ศิริผล; Thaworn Sakunphanit; ถาวร สกุลพาณิชย์ (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      การบริหารจัดการระบบบริการทางการแพทย์กรณีฉุกเฉินตามนโยบายบริหารจัดการร่วมสามกองทุน มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินนโยบายและมาตรการให้บริการทางการแพทย์แก่ผู้ประกันตนกรณีอุบัติเหตุฉุกเฉินที่เข้ารับบริการโรงพยาบาลนอกระบบประกันสั ...
    • การปฏิบัติงานวิชาการ การทบทวน วิเคราะห์ และพัฒนาคุณภาพตัวชี้วัดหน่วยบริการปฐมภูมิ 

      ลลิตยา กองคำ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-07)
      หน่วยบริการปฐมภูมิมีความสำคัญในการสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพที่จำเป็นสำหรับประชาชน เพื่อให้เข้าใจจุดแข็ง จุดอ่อนที่เกิดขึ้นของกลไกต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการกำกับ และพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานบริการปฐมภูมิในปัจจุบัน ...
    • การประเมินความคุ้มค่าการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในผู้ป่วยโรคตับแข็งระยะกลางและระยะท้าย ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; กุมารี พัชนี; Kumaree Pachanee; ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; Thanawat Wongphan; ประเวชย์ มหาวิฑิตวงศ์; Prawej Mahawithitwong; ประวัฒน์ โฆสิตะมงคล; Prawat Kositamongkol; สัญหวิชญ์ จันทร์รังสี; Sanhawit Janrungsee; บัณฑูร นนทสูติ; Bunthoon Nonthasoot; กรกช เกษประเสริฐ; Goragoch Gesprasert; กิตติพงศ์ ชัยบุตร; Kittipong Chaiyabutr; ธราธิป ศรีสุข; Tharatip Srisuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาข้อเสนอชุดสิทธิประโยชน์สำหรับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในผู้ป่วยโรคตับแข็งระยะกลางและระยะท้าย โดยรูปแบบของการศึกษาประกอบด้วยการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การเก็บข้อมูลปฐมภูมิจากผู้ป่วยโรคตับแ ...
    • การประเมินความคุ้มค่าและความเป็นไปได้ของบริการตรวจเพทซีทีในประเทศไทย 

      วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; ดิศรณ์ กุลโภคิน; Disorn Kulpokin; สรายุทธ ขันธะ; Sarayuth Khuntha; มณีโชติรัตน์ สันธิ; Maneechotirat Santi; ณัฐกานต์ บุตราช; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; จักรมีเดช เศรษฐนันท์; Chakmeedaj Sethanandha; ชนิสา โชติพานิช; Chanisa Chotipanich; เจษฎาพร พร้อมเที่ยงตรง; Chetsadaporn Promteangtong; อัญชิสา คุณาวุฒิ; Anchisa Kunawudhi; ดริส ธีระกุลพิศุทธิ์; Daris Theerakulpisut; อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)
      รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอโครงการประเมินความคุ้มค่าและความเป็นไปได้ของบริการตรวจเพทซีทีในประเทศไทย ซึ่งผ่านการมีส่วนร่วมจากหลายฝ่าย ทบทวนและอ้างอิงหลักฐานทางวิชาการ โดยมีกระบวนการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดยผู้ท ...
    • การประเมินความชุกพฤติกรรมเสี่ยงและการพัฒนารูปแบบการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในกลุ่มประชากรชาวไทยภูเขา ประเทศไทย 

      ธวัชชัย อภิเดชกุล; Tawatchai Apidechkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      การประเมินความชุกพฤติกรรมเสี่ยงและการพัฒนารูปแบบการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในกลุ่มประชากรชาวไทยภูเขา ประเทศไทย มุ่งศึกษาความชุก พฤติกรรมเสี่ยงและปัจจัยที่สัมพันธ์ต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ...
    • การประเมินระบบการบริหารจัดการเขตบริการสุขภาพไทย 

      ธีระ วรธนารัตน์; Thira Woratanarat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      วัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาภาพรวมสถานการณ์ของระบบบริหารจัดการเขตบริการสุขภาพของไทย 2. วิเคราะห์สมรรถนะการดำเนินงานของเขตบริการสุขภาพที่เป็นกรณีศึกษาตัวอย่าง 3. ศึกษาลักษณะการอภิบาลระบบการบริหารจัดการระดับเขตในกรณีศึกษาตัวอย่าง ...
    • การประเมินเชิงพัฒนาการเข้าถึงและคุณภาพบริการดูแลระยะกลาง การปฏิรูประบบบริการสุขภาพปฐมภูมิในกรุงเทพมหานคร 

      วิชช์ เกษมทรัพย์; Vijj Kasemsup; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; ปวินท์ ศรีวิเชียร; Pawin Sriwichian; ธนพร จันทโรหิต; Tanaporn Chandharohit; มธุริน จันทร์ทองศรี; Maturin Juntongsree (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-02)
      การดูแลระยะกลาง หรือ intermediate care (IMC) คือการดูแลผู้ป่วยที่ผ่านพ้นระยะเฉียบพลัน (acute phase) และมีอาการคงที่ แต่ยังคงมีความบกพร่องทางร่างกายบางส่วนที่จำกัดการทำกิจวัตรประจำวัน และการมีส่วนร่วมในสังคม เช่น ...
    • การพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ของการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ด้วยเครื่องแมมโมแกรม และอัลตราซาวด์ในผู้หญิงที่มีความเสี่ยงสูง ในประเทศไทย 

      วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; ณัฏฐิญา ค้าผล; Nattiya Kapol; ธัญญรัตน์ อโนทัยสินทวี; Thunyarat Anothaisintawee; ศิวนัย ดีทองคํา; Siwanai Deethongkum; ฉัฐญาณ์ วงศ์รัฐนันท์; Chathaya Wongrathanandha; ธวัชสภณ ธรรมบํารุง; Tawasapon Thambamroong; กุมารี พัชนี; Kumaree Pachanee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-07)
      โรคมะเร็งเต้านม เป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในมะเร็งที่พบในเพศหญิงและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี อัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วยขึ้นอยู่กับระยะที่ตรวจพบ การตรวจคัดกรองเพื่อให้พบมะเร็งเต้านมตั้งแต่ระยะแรกเริ่มเพื่อส่งต่อเข้าสู่กระบ ...
    • การพัฒนาระบบบริการระเบียนสุขภาพดิจิทัลหมอพร้อม: โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 

      สุภโชค เวชภัณฑ์เภสัช; Suppachoke Wetchaphanphesat; มานิตา พรรณวดี; Manita Phanawadee; เดือนเพ็ญ โยเฮือง; Duanpen Yohuang; รพีสุภา หวังเจริญรุ่ง; Rapeesupa Wangcharoenrung (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-10)
      รายงานการวิจัย โครงการพัฒนาระบบบริการระเบียนสุขภาพดิจิทัลหมอพร้อม : โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ฉบับนี้ เป็นการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบโดยการต่อยอดจากระบบระเบียนสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ส่วนบุคคล (PHR) ต้นแบบ ขยายเป้าหมายจากพื้น ...
    • การพัฒนารูปแบบระบบบริการสุขภาพที่บ้านสำหรับผู้ป่วยเรื้อรังในเขตเมือง : กรณีศึกษาเทศบาลนครหาดใหญ่ (ภาคแรก) 

      อมร รอดคล้าย; Amorn Rodklai; โสภิณ จิระเกียรติกุล; อภิรัตน์ อิ้มพัฒน์; แพรวพรรณ ตันสกุล; สิริวรรณ เดียวสุรินทร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
    • การพัฒนารูปแบบเครือข่ายโรคหัวใจในกรุงเทพมหานครแบบไร้รอยต่อสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ 

      วราวุธ อัมพรวิโรจน์กิจ; Warawut Umpornwirojkit; อุษาศิริ ศรีสกุล; Usasiri Srisakul; กิตติมา กังวิวรรธน์; Kittima Kungvivatana; บุญชู สุนทรโอภาส; Bunchoo Suntornopas; สุภาวิตา เผ่าเจริญ; Supawita Paocharern; ภูริวัจน์ อัครพรไกรเลิศ; Phuriwat Akarapornkrailert; ธันยา ปิติยะกูลชร; Tanya Pitiyakulchorn; อิศรายุส เลาหบุตร; Issarayus Laohabut; ภาณุพงศ์ ภู่ตระกูล; Phanupong Phutrakool; สุภาพร พัฒนสาร; Supapron Pattanasan; รำไพร พรมพุ้ย; Ramprai Prompuy (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-06)
      โรคหลอดเลือดหัวใจ (Coronary artery disease; CAD) เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สำคัญทางสาธารณสุขทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย การเข้าถึงการสวนหัวใจและฉีดสีหลอดเลือดหัวใจ (Coronary angiography; CAG) และการขยายหลอดเลือดหัวใจด้วยบอลล ...
    • การพัฒนาสิทธิประโยชน์ในการจัดบริการครอบฟันโลหะไร้สนิมในฟันน้ำนม ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      วรางคณา จิรรัตนโสภา; Varangkanar Jirarattanasopha; วรมน อัครสุต; Voramon Agrasuta; วรุต ชลิทธิกุล; Warut Chalittikul; นพวรรณ โพชนุกูล; Noppawan Pochanukul; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-10)
      ปัจจุบันการรักษาฟันผุในฟันน้ำนมด้วยการบูรณะฟันด้วยวัสดุอุด การรักษารากฟัน และการถอนฟันอยู่ในชุดสิทธิประโยชน์หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ แต่การบูรณะด้วยครอบฟันโลหะไร้สนิมไม่อยู่ในชุดสิทธิประโยชน์ครอบฟันโลหะฯ เป็นครอบฟันสำเร็ ...
    • การพัฒนาเกณฑ์การพิจารณาเพื่อการตัดสินใจและแนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับกระบวนการวินิจฉัยภาวะไม่พึงประสงค์จากการได้รับบริการทางการแพทย์ที่สมควรได้รับการคุ้มครอง 

      ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์; นุศราพร เกษสมบูรณ์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; อมร เปรมกมล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-08)
      การศึกษาเกณฑ์การพิจารณาเพื่อการตัดสินใจว่า เกิดภาวะไม่พึงประสงค์หรือความเสียหายจากการรับบริการทางการแพทย์ที่สมควรได้รับการคุ้มครองหรือชดเชย และรูปแบบกระบวนการพิจารณาตัดสินใจ ตลอดจนแนวทางปฏิบัติอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับกระบว ...
    • การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์มือถือส่งเสริมการเดินทางรับบริการสุขภาพสำหรับผู้สูงวัยในชุมชนเมือง รอบโรงพยาบาลสิรินธร กรุงเทพมหานคร 

      พัสตราภรณ์ ทิพยโสธร; Pastraporn Thipayasothorn; อมรช้ย ชัยชนะ; Amornchai Chaichana; ทิพวัลย์ เรืองฤทธิ์; Thipawan Ruangrit; เอื้อมอัมพร เพชรสินจร; Aueamaumporn Phetsinchorn; ประทุม มั่นคง; Prathum Monkhong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์มือถือส่งเสริมการเดินทางรับบริการสุขภาพสำหรับผู้สูงวัยในชุมชนเมือง รอบโรงพยาบาลสิรินธร จากสถานการณ์สุขภาพสังคมสูงวัยและปัญหาการเดินทางในกลุ่มคนสูงวัยในชุมชนเมือง กรุงเทพมหานคร มีความสัมพั ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV