• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
Research Reports เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • Research Reports เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • Research Reports เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Research Reports เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "ผลกระทบทางสุขภาพ"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-17 จาก 17

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • การกำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในกลุ่มเกษตรกรจากการใช้สารเคมีทางการเกษตรในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำพูน 

      ทิพวรรณ ประภามณฑล; Thiphawan Phaphamonthon; พงศ์เทพ วิวรรธนะเดช; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; สมศรี ปัทมพันธุ์; อำนาจ มีเวที; Pongtap Vivantanadej; Amphika Mangkalaprik; Somsri Phatamaphan; Amnat Meevattee (สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2547)
      การกำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในกลุ่มเกษตรกรจากการใช้สารเคมีทางการเกษตรในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำพูน มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการวิจัยให้ได้ข้อมูลนำไปกำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในกลุ่มเกษตรกรที่ใช้ส ...
    • การกำหนดขอบเขตและแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการทำพืชเศรษฐกิจขนาดใหญ่ในลุ่มน้ำฝาง จังหวัดเชียงใหม่ 

      มูลนิธิพัฒนาศักยภาพชุมชน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      นับตั้งแต่ พ.ศ. 2538 เป็นต้นมาเกิดการขยายพื้นที่การผลิตส้มเป็นอย่างมากทั่วทุกภาคของประเทศ รวมถึงในพื้นที่ลุ่มน้ำฝางอันประกอบด้วยพื้นที่ในเขตอําเภอฝาง อําเภอแม่อาย และอําเภอไชยปราการ จ.เชียงใหม่ จากการขยายพื้นที่ปลูกส้มเพ ...
    • การกำหนดขอบเขตและแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการพัฒนาเหมืองถ่านหินเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ 

      ชัชวาลย์ จันทรวิจิตร; Chatchavan Janvijit; ยุวยงค์ จันทรวิจิตร; ศิวพร อึ้งวัฒนา; นงเยาว์ อุดมวงศ์; จิตนธี เขนย; นุชยงค์ เยาวพานนท์; มลวิภา ศิริโหราชัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดขอบเขตและแนวทางการศึกษาผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการพัฒนาเหมืองถ่านหินเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชนและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เป็นการนำผลการศึกษ ...
    • การทบทวนสถานการณ์ผลกระทบทางสุขภาพจากการทำเหมืองถ่านหิน 

      ชัชวาลย์ จันทรวิจิตร; Chatchavan Janvijit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      โครงการพัฒนาเหมืองถ่านหินเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นโครงการทำเหมือนถ่านหินลิกไนต์ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ) โครงการนี้อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและสร้างผลกระทบต่อชุมชนในพื้นที่ในหลายด้าน ทั้งผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ...
    • การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ : กรณีศึกษา การพัฒนาเมืองและการขนส่งเมืองเชียงใหม่ ระยะที่ 1 การกำหนดขอบเขตและแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพโดยสาธารณะ 

      ลำดวน ศรีศักดา; Lamduan Srisakda; ศุวศา กานตนวนิชกูร; อำไพ ชนะกอก; ชมนาด พจนามาตร์; เทพินทร์ พัชรานุรักษ์; พีระศักดิ์ มะลิแก้ว; ทรงวุฒิ ตวงรัตนพันธ์; อารีรัตน์ นิรันต์สิทธิรัชต์; Suwasa Karntanawanitchakul; Chomnard Potjanamart; Tapin Pacharanuluk; Perasak Marikaew; Throngwu Tuangratpan; Areerat Nirunsittirat ([มหาวิทยาลัยเชียงใหม่], 2546)
      มีหลักฐานเพิ่มขึ้นจากต่างประเทศว่า การพัฒนาเมืองและการขนส่งในเมืองที่ใช้การขนส่งทางถนนโดยยานยนต์เป็นหลัก มีผลกระทบสำคัญต่อสุขภาพอันเนื่องจากอุบัติเหตุจราจร การปล่อยมลภาวะทางอากาศและเสียง และโอกาสการสัญจรที่ออกกำลังได้มีน้อยลง ...
    • การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษาการพัฒนาเมืองและการขนส่งเมืองเชียงใหม่ ระยะที่ 2 

      ลำดวน ศรีศักดา; Lumduan Srisakda; ศุวศา กานตนวนิชกูร; อำไพ ชนะกอก; ชมนาด พจนามาตร์; เทพินทร์ พัชรานุรักษ์; พีระศักดิ์ มะลิแก้ว; ทรงวุฒิ ตวงรัตนพันธ์; อารีรัตน์ นิรันต์สิทธิรัชต์; Suwasa Khantanawanitchakun; Ampai Chanokkok; Chomnard Potjanamart; Tapin Phacharanurak; Pherasak Malikaeow; Trongwut Doungratanaphan; Areerat Nirunsittirat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษาการพัฒนาเมืองและการขนส่งเมืองเชียงใหม่ ระยะที่ 2 มีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1) ประยุกต์กระบวนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ หรือเอชไอเอ นโยบายที่ทำการประเมินในโครงการนี้ คือ การจัดการขนส่งสาธา ...
    • การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีโครงการเหมืองแร่โพแทช จังหวัดอุดรธานี 

      สมพร เพ็งค่ำ; Somporn Pengkam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีโครงการเหมืองแร่โพแทซ เกิดขึ้นจากการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องผลกระทบทางสุขภาพโครงการเหมืองแร่โพแทช : แนวทางประยุกต์ใช้ในสังคมไทย ระหว่างวันที่ 17-18 พฤษภาคม 2546 ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ...
    • การประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมาบตาพุดและพื้นที่ใกล้เคียง 

      เพ็ญโฉม แซ่ตั้ง; Penchom Saitang; วลัยพร มุขสุวรรณ; Walaiporn Musuwan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      รายงานการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดและพื้นที่ใกล้เคียงเล่มนี้เป็นโครงการหนึ่งภายใต้การสนับสนุนของแผนงานวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพและระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ...
    • การประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากโยบายหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ต่อกลุ่มทอผ้าพื้นบ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 

      เกษราวัลณ์ นิลวรางกูร; Ketsarawan Nlilwarangkul; จรัญญา วงษ์พรหม; ชลิดา ธนัฐธีรกุล; สุมน ปิ่นเจริญ; Charunnya Wongphom; Chalida Tanutteerakul; Sumon Pincharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      นโยบายหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ เป็นนโยบายที่ถูกกำหนดเพื่อยกระดับความเป็นอยู่ทางเศรษฐกิจของประชาชนในท้องถิ่น การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาขอบเขตของนโยบายและการกระตุ้นการพัฒนาของนโยบายต่อกลุ่มทอผ้าพื้นบ้าน ...
    • การมีส่วนร่วมของประชาชนและการประเมินผลกระทบทางสุขภาพในการพัฒนาพลังงานทางเลือก : กรณีศึกษาโครงการโรงไฟฟ้าแกลบ ต.น้ำทรง อ.พยุหะคีรี จ.นครสวรรค์ และโครงการโรงไฟฟ้าแกลบ ต.โพกรวม อ.เมือง จ.สิงห์บุรี 

      ศุภกิจ นันทะวรการ; Supakit Nantaworakhan (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2549)
      การพัฒนาระบบไฟฟ้าที่ผ่านมาได้ก่อให้เกิดผลกระทบทางสุขภาพในด้านต่างๆ ต่อชุมชนท้องถิ่น ทําให้โครงการโรงไฟฟ้าใหม่ๆ ได้รับการต่อต้านและเป็นสาเหตุสําคัญของความขัดแย้งในสังคมไทย การพัฒนาพลังงานหมุนเวียนเป็นทางออกที่สําคัญของปัญ ...
    • การศึกษามิติทางสุขภาพกับการพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม 

      สมบัติ เหสกุล(แซ่แฮ่); Sombat Hesakul; ผการัตน์ เพ็งสวัสดิ์; อัครพงษ์ อั้นทอง; พัฒนา ราชวงศ์; กัมปะนาท ปิยะธำรงชัย; ขนิษฐา มาน้อย; ปรัชญา วงศ์ธนบัตร; พันธ์ณรงค์ จันทร์แสงศรี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การศึกษามิติทางสุขภาพกับการพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม (small and medium scale industry: SMIs) มีวัตถุประสงค์การศึกษา 4 ประการ คือ 1. เพื่อทบทวนสถานการณ์และแนวโน้มการพัฒนา SMIs ของประเทศในด้านการผลิต การจ้างแรงงาน ...
    • ข้อตกลง TRITs : สิทธิบัตรยาและผลกระทบทางสุขภาพ 

      นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kedsomboon; รัษวร ใจสะอาด; วราวุธ เสริมสินสิริ; กรแก้ว จันทภาษา; ทิพาพร กาญจนราช (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      เมื่อคนเราเจ็บป่วย สิ่งที่จำเป็นและขาดไม่ได้คือ ยารักษาโรค แต่ข้อตกลงการค้าระหว่างประเทศอาจจะทำให้คนเจ็บป่วยต้องเสียชีวิต เพราะไม่มีเงินซื้อยาที่ราคาแพงขึ้น ข้อตกลงการค้าระหว่างประเทศที่สำคัญข้อหนึ่ง คือ ข้อตกลง TRIPs ...
    • ความสัมพันธ์ระหว่างระดับสารมลพิษในอากาศและอาการในประชากรกรณีศึกษาบ้านควนหัวช้าง อ.จะนะ จ.สงขลา 

      สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; ชนนท์ กองกมล; ฐิติมา เภอเกลี้ยง; วรรณศิลป์ บุญณะแก้ว; ฟาอีซ๊ะ โตะโยะ; สมฤดี โสมเกษตรินทร์; ปิยะดา กองกมล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-11)
      ระดับของฝุ่นและสารมลพิษหลายชนิดในอากาศ มีความสัมพันธ์กับการตายและการเจ็บป่วยด้วยโรคระบบทางเดินหายใจ โรคระบบหัวใจและหลอดเลือดทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง ในพื้นที่อำเภอจะนะมีการก่อสร้างและประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรมหลายชนิด ...
    • นโยบายสาธารณะ ผลกระทบต่อสุขภาพ : กรณีศึกษาโครงการโขง-ชี-มูล 

      อุไรวรรณ อินทร์ม่วง; Uraiwan Inmuang; สรัญญา โพธิ์ทอง; สมพร อุดมวินิจศิลป์; Sarunya Pothong; Somporn Udomwinisil (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      “นโยบายสาธารณะ ผลกระทบตjอสุขภาพ กรณีศึกษา โขง-ชี-มูล” เป็นอีกกรณีตัวอย่างหนึ่งที่ชุมชนได้รับผลกระทบทางสุขภาพอันเกิดจากการพัฒนาโครงการของภาครัฐ ซึ่งที่ผ่านมาได้มีการศึกษาถึงผลกระทบของโครงการในหลายด้านจากหลายๆ องค์กร ...
    • ผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำลำตะคองแบบสูบกลับ 

      สุภาวดี บุญเจือ; Supavadee Boonjua (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2549)
      การประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำลําตะคองแบบสูบกลับ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำลําตะคองแบบสูบกลับ และศึกษากระบวนการของปัญหาและอุปสรรคจากการมีส่วนร่วมในการศึกษารายงา ...
    • ระบบเฝ้าระวังผลกระทบทางสุขภาพของประชาชนที่อาศัยในพื้นที่บริเวณโรงไฟฟ้าแม่เมาะ จังหวัดลำปาง 

      ชัชวาลย์ จันทรวิจิตร; อะเคื้อ อุณหเลขกะ; ยุวยงค์ จันทรวิจิตร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-10)
      โรงไฟฟ้าแม่เมาะ เป็นโรงไฟฟ้าจากถ่านหินขนาดใหญ่ที่สุดของประเทศ ในแต่ละปีโรงไฟฟ้าแม่เมาะต้องเผาถ่านหินเพื่อผลิตความร้อนสำหรับนำไปใช้ในกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าถึงประมาณ 17 ล้านตัน ถ่านหินที่ใช้ได้มาจากเหมืองถ่านหินแม่เมาะซึ่ ...
    • สถานการณ์ปัญหามลพิษและผลกระทบทางสุขภาพของประชาชน แนวทางการดำเนินงานของรัฐและข้อเสนอต่อการแก้ไขปัญหา กรณีพื้นที่อุตสาหกรรม อำเภอเมืองและอำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง 

      เดชรัต สุขกำเนิด; ศุภกิจ นันทะวรการ; วิภวา ชื่นชิต (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-02-07)
      มาบตาพุดเป็นพื้นที่อุตสาหกรรมซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในสังคมไทย ทั้งในแง่ของขนาดพื้นที่ ซึ่งถือได้ว่าเป็นนิคมอุตสาหกรรมที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และในแง่ของมลพิษที่ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อชุมชนที่อยู่รอบข้าง ในปีพ.ศ. 2540 ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [621]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV