Now showing items 1-4 of 4

    • การประเมินการดำเนินงานพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ตามแนวคิดทุกนโยบายห่วงใยสุขภาพในประเทศไทย 

      จอมขวัญ โยธาสมุทร; Jomkwan Yothasamut; วิรุฬ ลิ้มสวาท; Wirun Limsawart; ธีรพัฒน์ อังศุชวาล; Theerapat Ungsuchaval; คนางค์ คันธมธุรพจน์; Kanang Kantamaturapoj; ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; จุฑามาศ ปิยะวงษ์; Jutamas Piyawong; อารยา ญาณพิบูลย์; Araya Yanpiboon; กานติมา วิชชุวรนันท์; Kantima Wichuwaranan; จุฑามณี สารเสวก; Chuthamanee Sarnsawek; กรวรรณ พูนสวัสดิ์; Korawan Poonsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-19)
      แนวคิด “ทุกนโยบายห่วงใยสุขภาพ” หรือ Health in All Policies (HiAP) ได้ถูกกล่าวถึงในฐานะแนวคิดและหลักการ ซึ่งกำหนดอยู่ในพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และมีการนำไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ยังมีช่องว่างขององค์ความรู้ ...
    • การประเมินพันธกิจสำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ 

      สันติชัย อินทรอ่อน; Santichi Intaraoon; จริยา บุณยะประภัศร; สุขยืน เทพทอง; Suriya Bunyaphaphason; Sukyuen Tapthong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การวิจัยเรื่อง การประเมินพันธกิจสำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ มีวัตถุประสงค์การวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อการผลักดัน (ร่าง) พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ และ 2) เพื่อการวางแผนในการจัดทำยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อน ...
    • ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ: มิติทางกฏหมาย 

      ไพศาล ลิ้มสถิตย์; Paisan Limstit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      รายงานวิจัย ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ: มิติทางกฎหมาย ศึกษาธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ซึ่งถูกกำหนดให้เป็นกรอบและแนวทางกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์และการดำเนินงานด้านสุขภาพของประเทศคือ ...
    • สถานการณ์ระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ของไทย กรณีศึกษา สาระหมวดการสร้างเสริมสุขภาพและสาระหมวดการป้องกันและควบคุมโรคและปัจจัยที่คุกคามสุขภาพ 

      ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; อังคณา เลขะกุล; Angkana Lekagul; กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; โศภิต นาสืบ; Sopit Nasueb; มธุดารา ไพยารมณ์; Mathudara Phaiyarom; สตพร จุลชู; Sataporn Julchoo; จักร เจริญศิลป์ชัย; Chak Charoensilpchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-02-14)
      รายงานนี้จัดทำขึ้นเพื่อรายงานผลการศึกษา “รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ของ ไทย” กรณีศึกษา สาระหมวดการสร้างเสริมสุขภาพ และสาระหมวดการป้องกันและควบคุมโรคและปัจจัยที่ คุกคามสุขภาพ ข้อมูลที่ใช้ในการดำเนินงานครั้งนี ...