• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
Research Reports เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • Research Reports เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • Research Reports เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Research Reports เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "Tuberculosis--Prevention and Control"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-8 จาก 8

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • การติดเชื้อและอัตราป่วยวัณโรคของประชากรบางกลุ่มในประเทศไทย : ผลการทบทวนรายงานการวิจัย 62 เรื่องระหว่าง พ.ศ.2502-2541 

      เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami; วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      การติดเชื้อและอัตราป่วยวัณโรคของประชากรบางกลุ่มในประเทศไทย: ผลการทบทวนรายงานการวิจัย 62 เรื่องระหว่าง พ.ศ. 2502 – 2541ทันที่พบผู้ป่วยวัณโรคในชุมชนนั่นแสดงให้รู้ว่าการระบาดของวัณโรคเกิดขึ้น จำนวนผู้ป่วยวัณโรคเป็นตัวชี้วัด ...
    • การประยุกต์ใช้วิธีการพัฒนาคุณภาพโดยความร่วมมือในการป้องกันการขาดยาของผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ 

      อะเคื้อ อุณหเลขกะ; Akeau Unahalekhaka (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      โครงการนี้เป็นโครงการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวทางการดำเนินงานในการป้องกันการขาดยาของผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ที่เหมาะสมกับลักษณะของผู้ป่วยแต่ละกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งการปฏิบัติงานขอ ...
    • การพัฒนาคู่มือและเครื่องมือที่ช่วยเพิ่มความครอบคลุมในการค้นหาผู้สัมผัสวัณโรคและลดผลกระทบทางสังคมแก่ผู้ป่วยและผู้สัมผัสโรค 

      จินตนา งามวิทยาพงศ์-ยาไน; Jintana Ngamvithayapong-Yanai; ศุภเลิศ เนตรสุวรรณ; Supalert Nedsuwan; วรรัตน อิ่มสงวน; Worrarat Imsanguan; วณิชยา วันไชยธนวงศ์; Vanichaya Wanchaithanawong; อมรรัตน์ วิริยะประสพโชค; Amornrat Wiriyaprasobchok (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)
      วัณโรคเป็นโรคของความยากจนและมีการตีตราทางสังคมสูง (stigma) ประเทศไทยมีปัญหารุนแรงเกี่ยวกับวัณโรคร่วมกันทั้ง 3 ด้าน คือ มีจำนวนผู้ป่วยวัณโรค, ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน (MDR-TB) และผู้ป่วยวัณโรคติดเชื้อเอชไอวี (TB/HIV) ...
    • การพัฒนาและประเมินประสิทธิผลของระบบป้องกันการขาดยาของผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ 

      อะเคื้อ อุณหเลขกะ; Akeau Unahalekhaka (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-04)
      การขาดยารักษาวัณโรค (Tuberculosis, TB) ส่งผลกระทบรุนแรงต่อผู้ป่วยวัณโรค ทำให้เชื้อวัณโรคดื้อยา การรักษายุ่งยากยิ่งขึ้น ค่าใช้จ่ายในการรักษาสูงขึ้น การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการป้องกันการขาดยาของผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ ...
    • การศึกษาความชุกของวัณโรคแฝงและการให้ยาไอโซไนอะซิดเพื่อป้องกันการเกิดวัณโรคในเรือนจำของประเทศไทย (ปีที่ 1) 

      กมล แก้วกิติณรงค์; Kamon Kawkitinarong; ศิวะพร เกตุจุมพล; Sivaporn Gatechompol; อัญชลี อวิหิงสานนท์; Anchalee Avihingsanon; กำพล สุวรรณพิมลกุล; Gompol Suwanpimolkul; วีระกิตติ์ หาญปริพรรณ์; Weerakit Hanparipan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-11)
      วัณโรค (TB) ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของโลกและประเทศไทยยังคงติดอับดับหนึ่งในสิบสี่ประเทศที่มีอุบัติการณ์การเกิดวัณโรคสูงสุดซึ่งรายงานโดยองค์การอนามัยโลก (WHO) ซึ่งประกอบไปด้วยปัญหาวัณโรคทั่วไป, วัณโรคดื้อยาหลายสาย ...
    • วัณโรคชนิดดื้อยาหลายขนาน(MDR-TB) คุกคามประเทศไทยจริงหรือ : รายงานการทบทวนเอกสารวิชาการชุดโครงการเรื่อง วัณโรค 

      เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami; วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      วัณโรคชนิดดื้อยาหลายขนาน (MDR-TB) คุกคามประเทศไทยจริงหรือ? ผลการทบทวนรายงานการวิจัย 55 เรื่อง ระหว่าง พ.ศ. 2511 – 2541วัณโรคชนิดดื้อยาหลายขนานถือได้ว่าเป็นการระบาดลูกที่สาม (third epidemic) และอยู่ในระดับภาวะฉุกเฉินโลก ...
    • สถานการณ์และควบคุมวัณโรคในประเทศไทย : ภาพสะท้อนของการคิดและวางแผนร่วมกันระหว่างหน่วยงานของกระทรวงสาธารณสุข 

      เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami; วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      สถานการณ์และการควบคุมวัณโรคในประเทศไทย: ภาพสะท้อนของการคิดและวางแผนร่วมกันระหว่างหน่วยงานกระทรวงสาธารณสุข สองปัญหาหลักที่สำคัญสำหรับการควบคุมวัณโรคในประเทศไทย คือ การขาดแคลนการพัฒนาวัคซีนและยาใหม่ๆ และ การเพิ่มจำนวนผู้ที ...
    • แนวทางป้องกันการขาดยาของผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ 

      อะเคื้อ อุณหเลขกะ; Akeau Unahalekhaka (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      การดูแลผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ให้ได้รับยาต้านวัณโรคอย่างถูกต้องตามแผนการรักษามีความสำคัญต่อการหายขาดจากวัณโรคและการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อในชุมชน เป็นที่ทราบกันดีว่าผู้ป่วยวัณโรคจำนวนมากไม่สามารถรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV