Browsing Research Reports by Subject "Universal Health Coverage"
Now showing items 1-20 of 52
-
กระบวนการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและการป้องกันโรคในช่องปากในหน่วยคู่สัญญาบริการระดับปฐมภูมิภายใต้นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ระยะที่ 1 : วิเคราะห์สถานการณ์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)การศึกษาสถานการณ์และการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปากในหน่วยคู่สัญญาบริการระดับปฐมภูมิภายใต้นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้านี้ เป็นการศึกษาวิจัยแบบคุณภาพ ทั้งนี้พื้นที่เพื่อการศึกษาเป็นแบบการคัดเลือกเฉพาะ (purposive ... -
การกระจายแพทย์ทางภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)ปัญหาการความเหลื่อมล้ำของการกระจายแพทย์ทางภูมิศาสตร์ นับว่าเป็นปัญหาเรื้อรังของระบบบริการสุขภาพ ที่พบได้ในทุกพื้นที่ของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่มีความขาดแคลนแพทย์ในภาพรวมอยู่แล้ว โดยปัญหาความเหลื่อมล้ำในการกระจายแ ... -
การคลังระยะยาวของโครงการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ : ประมาณการรายจ่ายและแหล่งรายรับ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นนโยบายที่สำคัญของรัฐบาล ครอบคลุมประชากรไทยร้อยละ 75 อยู่ แต่ได้รับการงบประมาณอุดหนุน ด้วยอัตราเหมาจ่ายรายหัวที่จำกัดต่ำกว่าข้อเท็จจริงของอัตราการใช้ และต้นทุนบริการ และมีปัญหาความยั่งยื ... -
การคืนทุนของบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ ภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของโรงพยาบาลอุดรธานี : รายงานการวิจัย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-12)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการคืนทุนของบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยทำการศึกษาเชิงพรรณนาแบบย้อนหลัง อิงสถิติความชุกของโรค คำนวณต้นทุนบริการทางการแพทย์โดยใช้วิธีมาตรฐาน ... -
การจัดบริการทันตสุขภาพภายใต้นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ ตลอดจนวิถีชีวิตและความเชื่อของประชาชนส่งผลต่อทันตสุขภาพของประชาชนไทย วิถีชีวิตบางอย่างทำให้ประชาชนมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในช่องปากมากขึ้น โดยเฉพาะการบริโภคน้ำตาลที่เพิ่มมากขึ้น ... -
การจัดระบบชดเชยค่าบริการการแพทย์ กรณีสิทธิประโยชน์การป้องกันและรักษาโรคเอชไอวี/เอดส์ สำหรับประชากรต่างด้าวในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-05-31)การขยายหลักประกันสุขภาพให้ครอบคลุมบุคคลทุกคนที่อาศัยบนแผ่นดินไทยนั้น มีความพยายามในการดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการจัดระบบหลักประกันสุขภาพให้แก่บุคคลต่างด้าวที่อาศัยอยู่บนแผ่นดินไทย เพื่อเข้าถึงบริการสุขภาพ ทั้งนี้ ... -
การจัดหลักประกันสุขภาพสำหรับผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ รวมถึงผู้ที่ไม่ใช่ประชาชนไทยที่อยู่บนแผ่นดินไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-02)รายงานวิจัยฉบับนี้มีเป้าหมายในการศึกษาอยู่สามประการหลัก ประการแรก เพื่อทบทวนประสบการณ์การจัดหลักประกันสุขภาพสำหรับผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ รวมถึงผู้ที่ไม่ใช่ประชาชนที่อยู่บนแผ่นดิน ประการที่สอง สำรวจการจัดระบบหลักประกันสุ ... -
การจ่ายร่วมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : บทวิเคราะห์เชิงนโยบาย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเริ่มดำเนินการทั่วประเทศในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2544 โดยได้รับเงินงบประมาณสนับสนุนการดำเนินการ เพื่อให้ประชาชนได้รับสวัสดิการด้านการรักษาพยาบาลและสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพเมื่อเจ็บป่วย ... -
การติดตามประเมินผลการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีที่หนึ่ง (2544-45)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)รายงานนี้สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะจากโครงการติดตามประเมินผลการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปีที่หนึ่ง (2544-45) ซึ่งประกอบด้วยการศึกษาในสี่ด้าน คือ สวัสดิการข้าราชการและครอบครัว โครงการประกันสังคมและกองทุนเงินทดแทน ... -
การทบทวนความสำเร็จและโอกาสพัฒนาของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าตามกรอบข้อเสนอระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ. 2544
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนการดำเนินการ ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตามกรอบข้อเสนอระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ที่เสนอไว้โดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขในรายงานการศึกษา ตลอดจนค้นหาข้อมูลป้อ ... -
การประเมินความคุ้มค่าการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในผู้ป่วยโรคตับแข็งระยะกลางและระยะท้าย ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาข้อเสนอชุดสิทธิประโยชน์สำหรับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในผู้ป่วยโรคตับแข็งระยะกลางและระยะท้าย โดยรูปแบบของการศึกษาประกอบด้วยการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การเก็บข้อมูลปฐมภูมิจากผู้ป่วยโรคตับแ ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการตรวจคัดกรองทารกที่มีโครโมโซมผิดปกติในครรภ์ก่อนคลอดในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)ประเทศไทยมีรายงานอุบัติการณ์ของโรคโครโมโซมผิดปกติ เช่น กลุ่มอาการดาวน์ในทารกแรกเกิดอยู่ระหว่าง 1 : 800 ถึง 1 : 1,000 โดยพบความเสี่ยงเพิ่มขึ้นตามอายุของมารดา อย่างไรก็ตามร้อยละ 75-80 ของทารกแรกเกิดที่มีอาการดาวน์นั้นพบว่า ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการตรวจวินิจฉัยภาวะพาหะธาลัสซีเมียในคู่สามีภรรยาในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)ความชุกของโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียพบได้ประมาณร้อยละ 1 ของประชากรทั้งหมด โดยมีผู้ที่เป็นพาหะของโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียประมาณร้อยละ 30-40 จึงสามารถประมาณการได้ว่าจะพบผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงรายใหม่ 5,125 คน ... -
การประเมินต้นทุนอรรถประโยชน์ของการตรวจวินิจฉัยโรคหยุดหายใจขณะหลับจากการอุดกั้นด้วยการทดสอบการนอนหลับแบบละเอียด Polysomnography (PSG) ในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)โรคหยุดหายใจขณะหลับจากการอุดกั้น (obstructive sleep apnea : OSA) เป็นโรคที่พบได้บ่อย สำหรับประเทศไทยมีผลการศึกษา พบว่า มีความชุกของ OSA ร้อยละ 15.4 ในผู้ชาย และร้อยละ 6.3 ในผู้หญิง โรค OSA เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเ ... -
การประเมินนโยบายกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น เขตสุขภาพที่ 11 เพื่อสนับสนุนการดำเนินนโยบายในระยะถัดไป
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)นโยบายทางด้านสุขภาพในประเทศไทย ได้ใช้แนวคิดในการกระจายอำนาจลงสู่ท้องถิ่นตามที่ระบุอยู่ใน พ.ร.บ. หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 47 และ พ.ร.บ. กระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น พ.ศ.2542 โดยเน้นส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ... -
การพัฒนาประสิทธิภาพทางการคลังที่ยั่งยืนสำหรับระบบหลักประกันสุขภาพ และแบบจำลองการจัดสรรทรัพยากรกำลังคนด้านสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 1) พื้นที่การคลังสาธารณสุข: ประมาณการช่องว่างในการกำหนดงบประมาณ (Fiscal Space) ของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและระบบสาธารณสุข และ 2) การจัดสรรบุคลากร: ศึกษาช่องว่างอุปส ... -
การพัฒนารูปแบบการให้บริการทันตกรรมในเขตอำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ภายใต้นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาท
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)ปัจจุบันรัฐบาลได้ให้ความสำคัญกับระบบสุขภาพ โดยการสร้างนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้กับประชาชน ด้วยการเสนอคำว่า “ 30 บาทรักษาทุกโรค “ โดยมุ่งสร้างระบบบริการเชิงรุก และมุ่งเน้นให้มีการบริหารจัดการในแต่ละพื้นที่ ... -
การพัฒนาสิทธิประโยชน์สำหรับการวินิจฉัย ดูแลรักษาและป้องกันโรคปอมเปย์ สำหรับผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ กรณีการวินิจฉัยดูแลรักษาฟื้นฟูและป้องกันโรค เพื่อการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคปอมเปย์ สำหรับผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยใช้ข้อมูล ... -
การพัฒนาสิทธิประโยชน์สำหรับการวินิจฉัย ดูแลรักษาและป้องกันโรคเอ็มพีเอสสำหรับผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ กรณีการวินิจฉัยดูแลรักษาฟื้นฟูและป้องกันโรค เพื่อการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคเอ็มพีเอส สำหรับผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จากการทบทว ... -
การวิเคราะห์สถานการณ์การจัดบริการทันตกรรมในโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค : กรณีศึกษา 1 ใน 15 จังหวัดที่เริ่มดำเนินการในเดือนมิถุนายน 2544
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบสถานการณ์การจัดบริการทันตกรรมในโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรคตามนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า กรณีศึกษาโรงพยาบาลเอกชน 1 ใน 15 จังหวัด ที่เริ่มดำเนินการตั้งแต่เดือน มิถุนายน 2544 ...