Now showing items 1-4 of 4

    • การพัฒนารูปแบบการป้องกันการป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในประชาชนกลุ่มเสี่ยง 

      นงลักษณ์ เทศนา; จมาภรณ์ ใจภักดี; บุญทนากร พรหมภักดี; กนกพร พินิจลึก; Nongluck Tesana; Jamabhorn Jaipakdee; Boontanakorn Prompukdee; Kanokporn Pinijluek (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา (Research and Development; R&D) เพื่อพัฒนาโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบเข้มข้นในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน แบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 พัฒนาโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ...
    • การวัดปริมาณน้ำตาลบนอัลบูมินเพื่อติดตามภาวะเบาหวาน 

      เดือนเพ็ญ จาปรุง; Deanpen Japrung (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-08)
      คณะวิจัยได้ต่อยอดงานวิจัย จากสิทธิบัตรที่เกี่ยวกับแอปตาเมอร์ที่จับจำเพาะกับโปรตีนไกลเคทเตดอัลบูมิน และอัลบูมิน ศึกษาคุณสมบัติแอปตาเมอร์ดังกล่าวเพิ่มเติม เพื่อพัฒนาให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และนำแอปตาเมอร์ดังกล่าวไปพัฒนาต่อ ...
    • การวัดปริมาณน้ำตาลบนอัลบูมินเพื่อติดตามภาวะเบาหวาน ปีที่ 2 

      เดือนเพ็ญ จาปรุง; Deanpen Japrung; ภัทราพร ลักษณ์สิริกุล; ขุนเสก เสกขุนทด; ประภาศิริ พงษ์ประยูร; ชยาชล อภิวาท; วิรียา เชาจิรพันธุ์; ศศินี บุณยรัตพันธุ์; พิมพ์ณภัทร ปริมิตร; จักรพงศ์ ศุภเดช; สุรศักดิ์ เนียมเจริญ; ธิติกร บุญคุ้ม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      การติดตามภาวะเบาหวานทำได้ โดยการวัดปริมาณน้ำตาลในเลือด ร่วมกับการวัดปริมาณน้ำตาลที่จับอยู่บนโปรตีนฮีโมโกลบิน (HbA1c) อย่างไรก็ตามการวัดปริมาณน้ำตาลทั้งสองแบบ ต่างก็มีข้อจำกัด เช่น การวัดปริมาณน้ำตาลในเลือด ขึ้นอยู่กับอา ...
    • ปัจจัยสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วยโรคเบาหวานกลุ่มเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด 

      ปาหนัน พิชยภิญโญ; Panan Pichayapinyo; สุนีย์ ละกำปั่น; Sunee Lagampan; ดุสิต สุจิรารัตน์; Dusit Sujirarat; วันเพ็ญ แก้วปาน; Wonpen Kaewpan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-12)
      วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัยเพื่อ (1) สำรวจพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เป็น กลุ่มเสี่ยงต่ำ (น้อยกว่าร้อยละ 10) และกลุ่มเสี่ยงสูง (ร้อยละ 20 ขึ้นไป) ของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ตามแผนภูมิทำนายการเกิด ...