Health of Personnel after They Joined the Good Health by Yourself Program in Thayang Hospital, Phetchaburi Province
dc.contributor.author | คำนูณ พัทธยากร | en_US |
dc.contributor.author | Komnoon Phattayakorn | en_US |
dc.coverage.spatial | เพชรบุรี | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-11-27T09:24:16Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-16T15:57:22Z | |
dc.date.available | 2008-11-27T09:24:16Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-16T15:57:22Z | |
dc.date.issued | 2551 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2,3 (ก.ค.-ก.ย. 2551) (ฉบับเสริม 6) : 1325-1331 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/815 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยเชิงปริมาณแบบกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบสภาวะสุขภาพ และความเสี่ยงการเกิดโรคของบุคลากรโรงพยาบาลท่ายาง ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการสุขภาพดีเริ่มที่ตนเอง ประชากรที่ศึกษาคือบุคลากรโรงพยาบาลท่ายางที่ผ่านการตรวจสุขภาพประจำปี 2549 จำนวน 158 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ 88 คน คือมีดัชนีมวลกาย ≥ 25 กก./ตร.ม. และมีระดับโฆเรสเตอรอล ≥ 200 มก./ดล. ได้จำนวน 88 คน ทำการศึกษาแบบกลุ่มเดียวทดสอบก่อน-หลังเข้าร่วมกิจกรรม ในช่วงเดือนสิงหาคม 2549-กันยายน 2550 โดยให้กลุ่มตัวอย่างเข้าร่วมกิจกรรมการเสริมสร้างพลังอำนาจ การจัดกิจกรรมสุขศึกษา และพฤติกรรมสุขภาพ พัฒนารูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยจัดในลักษณะเข้าค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใช้เวลา 3 วัน 2 คืน 6 เดือนหลังจากนั้น เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการตรวจสุขภาพซ้ำ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปคอมพิวเตอร์ โดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบทีจับคู่ จากการศึกษาพบว่าหลังเข้าร่วมโครงการ กลุ่มตัวอย่างมีแรงดันเลือดสิย์สมอลิค และไดแอสทอลิค ระดับโฆเลสเทอรอล และไตรกลีย์เศอไรด์ในเลือด และพฤติกรรมความเสี่ยงที่สัมพันธ์กับการเกิดโรคลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ค่าพี < 0.05) แต่ขนาดเส้นรอบเอว ดัชนีมวลกายและน้ำตาลในเลือดไม่แตกต่างกัน แสดงว่ากิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่จัดขึ้นสามารถช่วยลดแรงดันเลือด ไขมันในเลือด และพฤติกรรมความเสี่ยงที่สัมพันธ์กับการเกิดโรค เท่ากับเป็นการส่งเสริมสุขภาพให้ดีขึ้น ผู้วิจัยแนะนำว่าควรนำรูปแบบกิจกรรมดังกล่าวไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางการพัฒนากระบวนการดูแลประชากรกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยอื่นๆ ต่อไป | en_US |
dc.format.extent | 209997 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.title | สภาวะสุขภาพบุคลากรโรงพยาบาลท่ายางหลังเข้าร่วมโครงการสุขภาพดีเริ่มที่ตนเอง | en_US |
dc.title.alternative | Health of Personnel after They Joined the Good Health by Yourself Program in Thayang Hospital, Phetchaburi Province | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this quasi-experimental research was to evaluate the health status and risk behavior of Tayang Hospital personnel who had earlier joined the Good Health by Yourself Program. The selected sample population of 88 had a body mass index (BMI) ≥ 25 kg/m 2 and /or blood cholesterol ≥ 200 mg/dl. One pre and post test was carried out on a group in the period from August 2006 to September 2007. The study group was kept for a three-day two-night session during which the staff members joined empowerment activities in the implementation of health education and self-adapting behavior. Six months later, data were collected again and analyzed by computer program to determine the percentage, means, standard deviation and paired t-test results. The study revealed that, following implementation of the Good Health by Yourself Program, related risks, namely systolic and diastolic blood pressure, blood cholesterol and triglyceride levels, were significantly lower than at pretest (p< 0.05). However, waist circumference, BMI and fasting blood sugar (FBS) were not different both pre- and post-Program implementation. This proved that the Good Health by Yourself Program activities could help in lowering blood pressure, cholesterol and related risks, and as a consequence, help to improve health. Therefore, the Good Health by Yourself Program should be implemented in order to develop a caring process for populations at risk as well as for other patients. | en_US |
dc.subject.keyword | สภาวะสุขภาพ | en_US |
dc.subject.keyword | Good Health by Yourself Program | en_US |
.custom.citation | คำนูณ พัทธยากร and Komnoon Phattayakorn. "สภาวะสุขภาพบุคลากรโรงพยาบาลท่ายางหลังเข้าร่วมโครงการสุขภาพดีเริ่มที่ตนเอง." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/815">http://hdl.handle.net/11228/815</a>. | |
.custom.total_download | 978 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 1 | |
.custom.downloaded_this_year | 38 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 61 |
![]() | ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Articles [1366]
บทความวิชาการ