DSpace at Health Systems Research Institute (HSRI): ชิ้นงานเข้าใหม่
แสดงรายการ 201-220 จาก 5809
-
วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 17 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2566
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 17 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2566 ประกอบด้วย บทบรรณาธิการ เรื่อง ความเชื่อมโยงของประเด็นสุขภาพกับอนาคตของระบบสุขภาพ โดย ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย นิพนธ์ต้นฉบับ จำนวน 11 บทความ ได้แก่ 1) ... -
ความเชื่อมโยงของประเด็นสุขภาพกับอนาคตของระบบสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)ความเชื่อมโยงของประเด็นต่างๆ กับสุขภาพสามารถอ้างถึงได้ดังที่พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 มาตรา 3 ได้จำกัดความคำว่า “สุขภาพ” ว่าหมายความถึง ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญาและทางสังคม เชื่อมโยงกั ... -
รูปแบบการเสริมสร้างพลังชุมชนเพื่อป้องกันการระบาดใหม่ของโรคโควิค-19 ในพื้นที่ชายแดนภาคตะวันตกของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566)การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างพลังชุมชนเพื่อป้องกันการระบาดใหม่ของโรคโควิด-19 ในพื้นที่ชายแดนภาคตะวันตกของประเทศไทย โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) โดยมีการผสมผสานวิธีวิจัยทั้ง ... -
การประมาณต้นทุนการเจ็บป่วยโรคโควิด-19 สถาบันบำราศนราดูร ประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบต้นทุนทางตรงทางการแพทย์ของโควิด-19 ตามระดับความรุนแรงของโรคและโรคประจำตัว ในมุมมองของผู้ให้บริการ (provider perspective) วิเคราะห์ต้นทุนด้วยวิธีจากล่างขึ้นบน (bottom-up approach) ... -
อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงของการติดเชื้อโควิด-19 ในกลุ่มทารกแรกเกิด: การศึกษาแบบภาคตัดขวางในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)ที่มาและความสำคัญ: การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ส่งผลกระทบอย่างมากต่อมาตรการควบคุมโรค การใช้ชีวิตประจำวัน และการจัดบริการด้านสุขภาพ หญิงตั้งครรภ์และทารกเป็นประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยที่รุนแรงจากการติดโรค การศึกษานี้ ... -
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานเติมยาตามใบสั่งยาของเครือข่ายร้านยาจังหวัดลำพูน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)โครงการลดความแออัดและการรอคอยรับยาที่โรงพยาบาลให้ผู้ป่วยสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเลือกรับยาโรคเรื้อรังต่อเนื่องได้ที่ร้านยาแผนปัจจุบันประเภท 1 ได้ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2562 การประเมินผลการดำเนินงานในระยะที่ผ่านมาพบรา ... -
ความแตกต่างของต้นทุนการรักษาพยาบาลระหว่าง 3 ระบบหลักประกันสุขภาพสำหรับบริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในของสถานพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความแตกต่างของต้นทุนการรักษาพยาบาลด้วยสิทธิการรักษาพยาบาลของแต่ละระบบหลักประกันสุขภาพของรัฐ ได้แก่ โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าหรือบัตรทอง (universal coverage scheme, UCS) ... -
ปัจจัยทางการค้ากำหนดโรคไม่ติดต่อ: นิยามและกรอบแนวคิดจากการทบทวนวรรณกรรมแบบกำหนดขอบเขต
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดขอบเขตเพื่อพัฒนากรอบแนวคิดในการติดตามปัจจัยทางการค้ากำหนดโรคไม่ติดต่อ โดยใช้วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการทบทวนวรรณกรรมแบบกำหนดขอบเขต (scoping review) การสัมภาษณ์และอภิปรายกลุ่มกับผ ... -
การสนับสนุนการปรับขนาดยาฉีดอินซูลินด้วยตนเองในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)โรคเบาหวานชนิดที่ 2 เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสำคัญและเป็นสาเหตุการตายอันดับที่ 9 ของประชากรโลก การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเป้าหมายเป็นสิ่งที่มีความจำเป็นอย่างมาก เนื่องจากช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดภาวะแทรกซ้อน ... -
บทสะท้อนการเยียวยาผลกระทบโควิด-19 บนหลักการเยียวยาเฉพาะกลุ่ม : กรณีศึกษาชุมชนแออัดและชุมชนชนบทในจังหวัดอุบลราชธานี
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)บทความนี้มุ่งสะท้อนปัญหาการดำเนินโครงการเยียวยาผลกระทบโควิด-19 บนหลักการเยียวยาเฉพาะกลุ่ม บทความเป็นผลจากการวิจัยเอกสารผสานกับการวิจัยภาคสนาม วิจัยเอกสารโดยการสำรวจเอกสารในระบบอินเทอร์เน็ตเกี่ยวกับการเยียวยาโควิด-19 ... -
การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินวิถีใหม่สำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองของโรงพยาบาลรัฐและเอกชนในช่วงการระบาดของ COVID-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)ภูมิหลังและเหตุผล: โครงการวิจัยและพัฒนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวน พัฒนา และศึกษาผลของรูปแบบการจัดบริการการแพทย์ฉุกเฉินวิถีใหม่สำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในช่วงการระบาดของ COVID-19 ของโรงพยาบาลรัฐและเอกชน ... -
การศึกษาอุบัติการณ์ ต้นทุนและผลกระทบงบประมาณของการให้บริการล้างไตแบบต่อเนื่องในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)ภูมิหลังและเหตุผล: ไตวายเฉียบพลันเป็นภาวะที่ไตเกิดการสูญเสียการทำงานลงในช่วงเวลาเป็นชั่วโมงหรือเป็นวัน หากรักษาด้วยยาไม่หาย การบำบัดทดแทนไตจึงจะเข้ามามีบทบาทสำคัญเพื่อให้ผู้ป่วยมีชีวิตอยู่รอดได้ ซึ่งการบำบัดทดแทนไตในปัจจ ... -
การให้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน : กรณีศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตำบลบ้านตาด อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและศึกษาผลการให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตำบลบ้านตาด อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ระหว่างเดือนธันวาคม 2564 - มิถุนายน 2565 กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ... -
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายด้านกฎหมายเพื่อขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในประชาชนวัยทำงาน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)โรคไม่ติดต่อเรื้อรังจัดเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประชากรวัยทำงาน การสร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบการนับเป็นช่องทางสำคัญที่จะสามารถเข้าถึงคนกลุ่มนี้ได้ จึงจำเป็นต้องหาวิธีส่งเสริมให้มากขึ้น วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ คือ ... -
กลไกเชื่อมโยงองค์ความรู้สู่นโยบายด้านสุขภาพและการค้าระหว่างประเทศ: กรณีศึกษาคณะกรรมการสนับสนุนการศึกษาและติดตามการเจรจาการค้าระหว่างประเทศที่มีผลกระทบต่อสุขภาพและนโยบายสุขภาพ (คจคส.)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)บทความวิจัยฉบับนี้มุ่งศึกษาการทำงานของคณะกรรมการสนับสนุนการศึกษาและติดตามการเจรจาการค้าระหว่างประเทศที่มีผลกระทบต่อสุขภาพและนโยบายสุขภาพ (คจคส.) ในฐานะกลไกเชื่อมโยงองค์ความรู้สู่นโยบาย เพื่อวิเคราะห์การดำเนินการและพิจารณ ... -
โทรจิต การพัฒนาชุดแบบทดสอบประสาทจิตวิทยาทางไกลอิงเสียงพูดและภาษาแบบอัตโนมัติ ด้วยการเรียนรู้ของเครื่องสำหรับจำแนกผู้สูงอายุที่มีภาวะปริชานบกพร่องเล็กน้อยในชุมชนภาคตะวันออก
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-07-31)การเพิ่มขึ้นของประชากรผู้สูงอายุและระบบสาธารณสุขปัจจุบันทำให้ประชาชนโดยทั่วไปอายุยืนยาวขึ้น เช่นเดียวกับจำนวนผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อมที่เพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วย แต่แนวทางที่ได้รับความสนใจในปัจจุบัน คือ การคัดกรองตั้งแต่อยู่ในช ... -
การเสริมสร้างคุณภาพชีวิตอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เขตสุขภาพที่ 8 เพื่อสนับสนุนการจัดบริการปฐมภูมิ ภายใต้สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-04)การศึกษาการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เขตสุขภาพที่ 8 เพื่อสนับสนุนการจัดบริการปฐมภูมิ ภายใต้สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน เก็บข้อมูลเชิงสำรวจ ... -
ประสิทธิศักย์และความปลอดภัยของสารสกัดฟ้าทะลายโจร เทียบกับการรักษามาตรฐานในการป้องกันการเกิดปอดอักเสบ ในผู้ติดเชื้อโควิด-19 ที่ไม่มีอาการหรือมีอาการน้อย : การทดลองแบบสุ่ม มีกลุ่มควบคุมและหลายสถานที่วิจัย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)การดูแลรักษาโรคผู้ป่วยโควิค-19 มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เนื่องจากมีความจำกัดของทรัพยากรและความรู้ ในช่วงแรกของการระบาด หนึ่งในทางเลือกของกระบวนการรักษาผู้ป่วย คือ ความพยายามรักษาอาการและลดจำนวนเชื้อ เพื่อไม่ให้เกิดความรุ ... -
บทบาทของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ภายหลังการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปองค์การบริหารส่วนจังหวัด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)การถ่ายโอนภารกิจของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ส่งผลกระทบต่อบทบาทหน้าที่ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ (สสอ.) การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพ ... -
ผลของเภสัชพันธุศาสตร์ต่อระดับยาและผลข้างเคียงของยาต้านไวรัสเอชไอวีตัวใหม่ ในผู้ใหญ่ที่ติดเชื้อไวรัสเอชไอวี-1
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)ถึงแม้ประเทศไทยจะจัดการปัญหาเอชไอวีได้ดี และมียาต้านอยู่ใน Universal Access Program ตั้งแต่ปี 2008 มีการเริ่มยาต้าน Any CD4 count ตั้งแต่ปี 2014 และ same day ART (antiretroviral therapy, ART)/rapid ART ตั้งแต่ปี 2022 ...