Browsing by Author "วิชช์ เกษมทรัพย์"
Now showing items 1-20 of 22
-
การปฏิรูประบบการจัดหาและการใช้ยาในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2541
วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จงกล เลิศเธียรดำรง; วิชช์ เกษมทรัพย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)ภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นเมื่อเกือบสองปีที่ผ่านมาได้ส่งผลให้เกิดการรณรงค์เรียกร้องให้ประหยัด ให้ใช้ของที่ผลิตในประเทศ เพื่อลดการสูญเสียเงินตราออกนอกประเทศ ยาจัดว่าเป็นสินค้าที่ต้องอาศัยปัจจัยการผลิต (เช่นวัตถุดิบ) ... -
การประกันสุขภาพภาคเอกชน : ประสบการณ์ของต่างประเทศ
จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; วิชช์ เกษมทรัพย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)Private Health Insurance : International ExperiencesThe study objectives were to review roles of private health insurance in other countries, to analyse health care systems in which the development of private health insurance ... -
การประเมินผลการเข้าถึงบริการและการจัดบริการทดแทนไต ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพในประเทศไทย
วิชช์ เกษมทรัพย์; สุพล ลิมวัฒนานนท์; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; พิสิษฐ์ เวชกามา; กนกพร ปูผ้า; Vich Kasemsup; Supon Limwattananonta; Chulaporn Limwattananon; Phisitt Vejakama; Kanokporn Poopha (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2556-09-01)ระบบการให้บริการทดแทนไตในประเทศไทยเป็นระบบที่เรียกได้ว่าถ้วนหน้าคือ ประกันสุขภาพภาครัฐทุกระบบจัดบริการทดแทนไตอยู่ในชุดสิทธิประโยชน์ อย่างไรก็ตามพบว่ายังมีความแตกต่างในรายละเอียดของสิทธิประโยชน์ของแต่ละระบบที่มีความไม่หมือนกันอยู่ ... -
การพัฒนาสุขภาพในชุมชนเพื่อตอบสนองความต้องการด้านสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบางในประเทศไทย
ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; บวรศม ลีระพันธ์; วิชัย เอกพลากร; วิชช์ เกษมทรัพย์; นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์; ฉัตรชัย อิ่มอารมย์; รัศมี ตันศิริสิทธิกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559)โครงการสังเคราะห์บทเรียนจากโครงการพัฒนาสุขภาพในชุมชนเพื่อตอบสนองความต้องการด้านสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบางในประเทศไทย (Lessons learned from community-based health interventions for vulnerable populations in Thailand) ... -
การวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการดูแลระยะยาว (Long-term care) สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; วิชช์ เกษมทรัพย์; วิชัย เอกพลากร; บวรศม ลีระพันธ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-02)เป็นที่รับทราบกันดีโดยทั่วไปในสังคมแล้วว่าประเทศไทยเราก้าวเข้าสู่สังคมสูงวัยเรียบร้อยแล้วและในอีกไม่กี่ปีข้างหน้าประเทศไทยเราก็จะก้าวเข้าสู่สังคมสูงวัย เรามีผู้สูงอายุถึงร้อยละ 20 ของประชากร ทั้งนี้ การเปลี่ยนแปลงของโครง ... -
การวิเคราะห์เชิงนโยบายของการรักษาทดแทนไตในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย กรณีการสร้างหลักประกันสุขภาพแก่ประชาชนถ้วนหน้า
วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ยศ ตีระวัฒนานนท์; วิชช์ เกษมทรัพย์; สุวรรณา มูเก็ม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)บทความนี้เป็นการนำเสนอข้อมูลที่ผู้ศึกษาได้วิเคราะห์เพื่อให้ประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูงการวางนโยบายการสร้างหลักประกันสุขภาพแก่ประชาชนถ้วนหน้า หรือที่เรียกกันจนติดปากว่านโยบาย 30 บาทรักษาทุกโรคนั้น ซึ่งภายหลังการ ... -
การศึกษาการบริหารจัดการ การดำเนินการของสถานพยาบาลภายใต้นโยบายการให้สิทธิ (คืนสิทธิ) ขั้นพื้นฐานด้านสาธารณสุขกับบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 23 มีนาคม 2553
ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; ธัญธิตา วิสัยจร; ปริญดา เสนีย์รัตนประยูร; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; วิชช์ เกษมทรัพย์; คนางค์ คันธมธุรพจน์; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Rapeepong Suphanchaimat; Thunthita Wisaijohn; Parinda Seneerattanaprayul; Weerasak Putthasri; Vijj Kasemsup; Kanang Kantamaturapoj; Supon Limwattananonta (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.), 2556-07-01)นโยบายระบบประกันสุขภาพผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ ได้รับการอนุมัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2553 มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ให้บุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิสามารถเข้าถึงระบบบริการสุขภาพที่จำเป็น และ (2) เพื่อแก้ปัญ ... -
การศึกษาวิเคราะห์ช่องว่างงานวิจัยด้านการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
วิชช์ เกษมทรัพย์; Vijj Kasemsap; วรรณสุดา งามอรุณ; Wansuda Ngam-Aroon; วิชชุกร สุริยะวงศ์ไพศาล; Wichukorn Suriyawongpaisal; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2556)โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) เป็นภาระต่อเศรษฐกิจและสังคมที่สำคัญในระดับโลก ทั้งนี้เพราะกลุ่มโรคดังกล่าวบั่นทอนสุขภาพและศักยภาพในการดำเนินชีวิตประจำวันของผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง และไม่มีทางรักษาให้หายขาดได้ ดังนั้นค่าใช้จ่าย ... -
การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ภูดิท เตชาติวัฒน์; Phudit Tejativaddhana; อรพินท์ เล่าซี้; Orapin Laosee; วิชช์ เกษมทรัพย์; Vijj Kasemsup; เกรียงศักดิ์ ธรรมอภิพล; Kriengsak Thamma-Aphiphol; วิชชุกร สุริยะวงศ์ไพศาล; Wichukorn Suriyawongpaisal; ดุษณี ดำมี; Dusanee Dammee; กวินารัตน์ สุทธิสุคนธ์; Kawinarat Suthisukon; ศรินญา เพ็งสุก; Sarinya Phengsuk; จริยา ศรีกลัด; Jariya Sriklad (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-10)ภูมิหลัง: อำเภอเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญในการพัฒนาระบบสุขภาพตามแนวคิดพื้นที่เป็นฐาน ประชาชนเป็นศูนย์กลาง ซึ่งสอดคล้องกับหลักการของการสาธารณสุขมูลฐาน (Primary Health Care: PHC) ตามปฏิญญาอัลมา อะต้า ค.ศ. 1978 และปฏิญญาอัสตานา ... -
การสังเคราะห์ทางเลือกและข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อสนับสนุนการปฏิรูปบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร (อสส.) เพื่อมุ่งสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
ภูดิท เตชาติวัฒน์; Phudit Tejativaddhana; ธันวดี สุขสาโรจน์; Thunwadee Suksaroj; ชีระวิทย์ รัตนพันธ์; Cheerawit Rattanapan; อรพินท์ เล่าซี้; Orapin Laosee; วิชช์ เกษมทรัพย์; Vijj Kasemsup; อรุณศรี มงคลชาติ; Aroonsri Mongkolchati; สมศักดิ์ วงศาวาส; Somsak Wongsawass; ภานุวัฒน์ ปานเกตุ; Panuwat Panket; ชวินทร์ ศิรินาค; Chawin Sirinak; ชาติชาย สุวรรณนิตย์; Chatchay Suvannit; สมบูรณ์ ศิริสรรหิรัญ; Somboon Sirisunhirun; ศักดา อาจองค์ วัลลิภากร; Sakda Arj-Ong Vallibhakara (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04-28)การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีเป้าประสงค์เพื่อพัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อสนับสนุนการปฏิรูปบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)/อาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร (อสส.) เพื่อมุ่งสู่การบรรลุเป้าหมายพัฒนาที่ยั่งยืน ... -
การเข้าถึงบริการทดแทนไตอย่างถ้วนหน้าในประเทศไทย : การวิเคราะห์เชิงนโยบาย
วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วิชช์ เกษมทรัพย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ถนอม สุภาพร; จิตปราณี วาศวิท; ภูษิต ประคองสาย; Vijj Kasemsap; Yot teerawatananon; Thanom Supaporn; Chitpranee Vasavid; Phusit Prakongsai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)การบริการทดแทนไต (renal replacement therapy-RRT) เป็นการรักษาพยาบาลที่มีความจำเป็นสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (ต่อไปนี้เรียกว่าผู้ป่วยฯ) ซึ่งในปัจจุบัน มีความไม่เท่าเทียมกันในการเข้าถึงบริการทดแทนไตระหว่างผู้ป่วยฯ ... -
ความคิดเห็นของประชาชนไทยต่อการคัดเลือกผู้ป่วยไตวายเรื้อรังเข้ารับบริการทดแทนไต
วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จิตปราณี วาศวิท; วิชช์ เกษมทรัพย์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)แรงกดดันจากสังคมภายนอกเพื่อให้รัฐบาลพิจารณาปรับปรุงชุดสิทธิประโยชน์ของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้ครอบคลุมบริการทดแทนไตสำหรับผู้ป่วยไตวายเร้อรังระยะสุดท้าย และความจำกัดของทรัพยากรสุขภาพภาครัฐ เป็นเหตุปัจจัยสำคัญที ... -
ความต้องการงบประมาณสำหรับการเข้าถึงบริการทดแทนไตอย่างถ้วนหน้าในประเทศไทย
วิชช์ เกษมทรัพย์; ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประมาณการความต้องการงบประมาณสำหรับการขยายการเข้าถึงบริทดแทนไตให้กับผู้มีสิทธิ์ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ทั้งนี้เพื่อวิเคราะห์ภาระงบประมาณที่จะเกิดขึ้นและความเป็นไปได้ของภาครัฐใ ... -
ความมั่นใจในความรู้ ทักษะและความสามารถทางการแพทย์และสาธารณสุขของบัณฑิตแพทย์: การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจและการถดถอยพหุคูณ
ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; ชมพูนุท ไทยจินดา; นงลักษณ์ พะไกยะ; ธัญธิตา วิสัยจร; นพคุณ ธรรมธัชอารี; วิชช์ เกษมทรัพย์; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Rapeepong Suphanchaimat; Thitikorn Topothai; Chompoonut Thaichinda; Nonglak Pagaiya; Thunthita Wisaijohn; Noppakun Thammathacharee; Vijj Kasemsup; Weerasak Puthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความมั่นใจด้านความรู้ ทักษะและความสามารถทางการแพทย์และสาธารณสุขของบัณฑิตแพทย์และหาความสัมพันธ์ระหว่างความมั่นใจดังกล่าวกับการเป็นแพทย์ในโครงการผลิตแพทย์เพื่อชาวชนบท (แพทย์เพื่อชนบท) ... -
งบประมาณในการดำเนินงานโรงพยาบาลในกำกับของรัฐแห่งแรกในประเทศไทย: 782 บาทต่อคน มาจากไหน
ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; ประพันธ์ สหพัฒนา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)โรงพยาบาลบ้านแพ้วเป็นโรงพยาบาลแห่งแรกที่จะเป็นโรงพยาบาลในกำกับของรัฐตามพระราชบัญญัติองค์การมหาชน โรงพยาบาลไม่มุ่งค้ากำไรและจะยังได้รับงบประมาณอุดหนุจากรัฐบาล บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้เห็นความเป็นมา วิธีคิด ... -
ทัศนคติและการเลือกงานในชนบทของแพทย์จบใหม่
นงลักษณ์ พะไกยะ; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; อภิชาติ จันทนิสร์; สัญญา ศรีรัตนะ; กฤษดา ว่องวิญญู; Nonglak Pagaiya; Viroj Tangcharoensathien; Vijj Kasemsup; Apichart Chantanisr; Sanya Sriratana; Krisada Wongwinyou (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)สถานการณ์การขาดแคลนแพทย์ เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นต่อเนื่องตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะการขาดแคลนแพทย์ในชนบท งานวิจัยนี้จึงศึกษาทัศนคติและปัจจัยที่ทำให้แพทย์เลือกงานในชนบท โดยการเก็บข้อมูลของบัณฑิตแพทย์กลุ่มที่สำเร็จการศึกษาในปี ... -
ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ถนอม สุภาพร; จิตปราณี วาศวิท (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยใช้กรอบแนวความคิดทั้งในด้านประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากร และแนวคิดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ... -
ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย
ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ถนอม สุภาพร; จิตปราณี วาศวิท (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าโดยใช้กรอบแนวความคิดทั้งในด้านประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากรและแนวคิดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ... -
ผู้มีรายได้น้อย กับการเข้าถึงบริการทดแทนไต: วิเคราะห์และข้อเสนอเชิงนโยบาย
วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; สุวรรณา มูเก็ม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)ในประเทศไทย 76.7% ของผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (End-stage Renal Disease, ESRD) ไม่สามารถเข้าถึงบริการทดแทนไต เพราะเป็นบริการที่มีราคาแพงจนอาจทำให้ผู้ป่วยล้มละลาย (Catastrophic illiness) สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทยรายงา ... -
อุปสงค์ของบริการทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
วิชช์ เกษมทรัพย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)การศึกษาครั้งนี้เป้นการประมาณการอุปสงค์ของการบริการทดแทนไตสำหรับผู้มีสิทธิ์ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าซึ่งหากรัฐบาลตัดสินใจให้ขยายการเข้าถึงยริการทดแทนไตสำหรับผู้มีสิทธิ์ทุกคนอาจส่งผลให้ความชุกและอัตราอุบัติการณ์การเข ...