เลือกตามผู้แต่ง "ปฤษฐพร กิ่งแก้ว"
แสดงรายการ 1-20 จาก 26
-
การคัดกรองวัณโรคระดับประชากรในประเทศไทย
พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; ศิตาพร ยังคง; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Patsri Srisuwan; Tanunya Koopitakkajorn; Pritaporn Kingkaew; Sitaporn Youngkong; Sripen Tantivess; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)วัณโรคเป็นโรคติดต่อร้ายแรง มีอุบัติการณ์และความชุกสูง ปัจจุบันยังไม่มีแนวทางการคัดกรองระดับประชากรในประเทศไทย เว้นแต่การตรวจภาพรังสีทรวงอกที่บรรจุในโปรแกรมการตรวจสุขภาพประจำปีของสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ ... -
การคัดกรองโรคมะเร็งท่อน้ำดี ในประชากรไทย
สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)โรคมะเร็งท่อน้ำดีเป็นโรคที่พบมากในประชากรไทย โดยมีอุบัติการณ์สูงเมื่อเทียบกับประเทศอื่น โดยเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สาเหตุส่วนใหญ่มาจากการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับ ปัจจุบันยังขาดหลักฐานเชิงประจักษ์ถึงประโยชน์ของการคัดกรอ ... -
การจัดลำดับความสำคัญของโรคหรือปัญหาสุขภาพที่ควรคัดกรองในประชากรไทย
ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; Lily Ingsrisawang; เดช เกตุฉ่ำ; Det Kedcham; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)การคัดกรองทางสุขภาพระดับประชากรเป็นการตรวจหาโรคหรือปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคในประชากรที่สุขภาพดี เพื่อป้องกันโรคหรือรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มต้น การคัดกรองบางรายการในชุดสิทธิประโยชน์ด้านการคัดกรองทางสุขภาพขาดหลักฐานเรื่องประ ... -
การตรวจคัดกรองสุขภาพที่เหมาะสมสำหรับสังคมไทย
พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; Lily Ingsrisawang; เดช เกตุฉ่ำ; Det Kedcham; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)การตรวจคัดกรองสุขภาพเป็นการซักถามหรือตรวจเบื้องต้น เพื่อค้นหาความเสี่ยงหรือโรคในประชากรสุขภาพดี เพื่อป้องกัน ลดความเสี่ยงหรือภาวะแทรกซ้อนจากโรค อย่างไรก็ตาม การกำหนดชุดสิทธิประโยชน์ด้านการตรวจคัดกรองสุขภาพหลายรายการในระบ ... -
การทบทวนชุดสิทธิประโยชน์และการเข้าถึงบริการอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ
ธีระ ศิริสมุด; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; สุรชัย โกติรัมย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ทรงยศ พิลาสันต์; วันทนีย์ กุลเพ็ง; แก้วกุล ตันติพิสิฐกุล; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2557-10)ปัจจุบันประเทศไทยมีคนพิการที่ขึ้นทะเบียนคนพิการประมาณ 1.5 ล้านคน และยังมีคนพิการจำนวนมากที่เข้าไม่ถึงบริการหรือสวัสดิการของรัฐ เช่น ไม่ได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ ทั้งที่มีความจำเป็น การที่คนพิการเข้าไม่ถึงบริการสุขภาพ ... -
การประเมินความพร้อมของระบบสุขภาพในการให้บริการผ่าตัดฝังประสาทหูเทียมและการฟื้นฟูสมรรถภาพในประเทศไทย
ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ดนัย ชินคำ; Danai Chinnacom; ชลทิชา จันทร์แจ่ม; Chonticha Chanjam; ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae; ณัฐธิดา มาลาทอง; Natthida Malathong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-10)ความพิการทางการได้ยินหรือสื่อความหมายเป็นความพิการที่มีจำนวนมากเป็นลำดับสอง รองจากความพิการทางการเคลื่อนไหวหรือทางร่างกาย ซึ่งมีประมาณ 372,189 คน ในประเทศไทย ผู้พิการทางการได้ยินระดับหูตึงรุนแรงและหูหนวก (ความชุกประมาณ ... -
การประเมินความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง
ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)โรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง เป็นปัญหาทางสุขภาพที่สำคัญเป็นลำดับต้นของประเทศไทย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนความรู้และค้นหามาตรการคัดกรองโรคหลอดเลือดหัวใจและโรคหลอดเลือดสมองในระดับประชากร โดยรวบรวมข้อมูลแนว ... -
การประเมินต้นทุนประสิทธิผลและต้นทุนอรรถประโยชน์ของการคัดกรองและการใช้ยาเพื่อป้องกันกระดูกหักในหญิงวัยหลังหมดประจำเดือนที่เป็นโรคกระดูกพรุน
อุษาวดี มาลีวงศ์; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; ฉัตรประอร งามอุโฆษ; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2551-01) -
การประเมินเทคโนโลยีการผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม : มุมมองด้านเศรษฐศาสตร์และสังคม
ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; วัชรา ริ้วไพบูลย์; มานัส โพธาภรณ์; จำรูญ ตั้งกีรติชัย; ชนิดา กาญจนลาภ; ศิตาพร ยังคง; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพศูนย์ศิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ, 2552-06)Hearing loss leads to a loss of communication though speech with most people and an inability to develop social relationships with other people. This leads to an acceptance of a lower standard of quality of life. Parents ... -
การพัฒนากรอบยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขเพื่อตอบสนองต่อการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประเทศไทย
วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; อังคณา เลขะกุล; Angkana Lekagul; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; จุฑามาศ พราวแจ้ง; Juthamas Prawjaeng; วิไลลักษณ์ แสงศรี; Wilailak Saengsri; กานต์พีชญา เนตรพิสิทธิ์กุล; Kanpechaya Netpisitkul; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; มธุดารา ไพยารมณ์; Mathudara Phaiyarom; ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; สุณิชา ชานวาทิก; Sunicha Chanvatik; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; รักมณี บุตรชน; Rukmanee Butchon; รุ่งนภา คำผาง; Roongnapa Khampang; สรายุทธ ขันธะ; Sarayuth Khuntha; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; เบญจรินทร์ สันตติวงศ์ไชย; Benjarin Santatiwongchai; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; อรทัย วลีวงศ์; Orratai Waleewong; ณัฐดนัย รัชตะนาวิน; Nattadhanai Rajatanavin; นิธิวัชร์ แสงเรือง; Nithiwat Saengruang; ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; รักษพล สนิทยา; Rugsapon Sanitya; อรณา จันทรศิริ; Orana Chandrasiri; กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; ณัฎฐณิชา แปงการิยา; Nattanicha Pangkariya; รัชพร คงประเสริฐ; Ratchaporn Kongprasert; โศภิต นาสืบ; Sopit Nasueb; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; พุฒิปัญญา เรืองสม; Putthipanya Rueangsom; กมลวรรณ เขียวนิล; Kamonwan Kiewnin; หทัยชนก สุมาลี; Hathaichanok Sumalee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019, COVID-19 หรือ โควิด-19) นับเป็น "การระบาดใหญ่" (pandemic) หลังจากพบผู้ติดเชื้อทั่วโลก ปัจจุบัน (กันยายน 2563) มีผู้ติดเชื้อทั่วโลกมากกว่า 30 ล้านราย ... -
การพัฒนาคู่มือการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพสำหรับประเทศไทย ฉบับที่ 3
ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; วิไลลักษณ์ แสงศรี; Wilailak Saengsri; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; สลักจิต ชื่นชม; Salakjit Chuenchom; ณัฐธิดา มาลาทอง; Natthida Malathong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-02)การประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ หรือ Health Technology Assessment (HTA) เป็นการศึกษาผลกระทบด้านบวกและลบที่เกิดขึ้น หรืออาจเกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีหรือนโยบายทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งรวมถึงผลกระทบด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ ... -
การศึกษาการขยายบริการตรวจคัดกรองการได้ยินในทารกแรกเกิดในประเทศไทย: ความเป็นไปได้ ต้นทุน และความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์
ดนัย ชินคำ; Danai Chinnacom; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; ชนิดา เอกอัครรุ่งโรจน์; Chanida Ekakkararungroj; ณชวิศ กิตติบวรดิฐ; Nachawish Kittibovorndit; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; พิทยาพล ปีตธวัชชัย; Pittayapon Pitathawatchai; ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)การได้ยินเป็นพื้นฐานสำคัญของการพูดและพัฒนาการทางภาษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงอายุ 3 ปีแรกของชีวิต หากเด็กมีความผิดปกติทางการได้ยินจะส่งผลกระทบโดยตรงกับพัฒนาการด้านการพูดและภาษารวมถึงการเข้าสังคม การเรียน ภาวะจิตใจ ความจำ ... -
การศึกษาทบทวนการดำเนินการลดบริโภคเครื่องดื่มแอลกอออล์ในประเทศไทย พ.ศ. 2540-2550 และบทบาท สสส.
ศิตาพร ยังคง; จอมขวัญ โยธาสมุทร; ยศ ตีระวัฒนานนท์; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; อดุลย์ โมฮารา; ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์; อินทิรา ยมาภัย; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; กาญจนาถ อุดมสุข; ศิริยุพา นันสุนานนท์; ณัฐวุฒิ พิมพ์สวรรค์; ยุทธนา อรวัฒนะกุล (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2550-11) -
การศึกษาเพื่อพัฒนามาตรการกักตัวสำหรับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขที่สัมผัสผู้ติดเชื้อโควิด-19
ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; นภดล พิมสาร; Nopphadol Pimsarn; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; แพรวา กุลัตถ์นาม; Praewa Kulatnam; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; วริษฐา แสวงดี; Waritta Sawaengdee; นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา; Nuanjun Wichukchinda; มณีโชติรัตน์ สันธิ; Maneechotirat Santi; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; ณัฐปราง นิตยสุทธิ์; Natthaprang Nittayasoot; วราภรณ์ เทียนทอง; Varaporn Thienthong; สุทัศน์ โชตนะพันธ์; Suthat Chottanapund; พิไลลักษณ์ อัคคไพบูลย์ โอกาดะ; Pilailuk Akkapaiboon Okada; จักรรัฐ พิทยาวงศ์อานนท์; Chakrarat Pittayawonganon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)ความเป็นมา: บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขถือได้ว่าเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการสัมผัสโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โรคโควิด-19 ในระหว่างปฏิบัติงาน โดยเฉพาะในสถานการณ์ที่มีการระบาดของโรคในวงกว้าง เมื่อบุคลากรทางการแพ ... -
ความคุ้มค่าของการผ่าตัดต้อกระจกโดยใส่เลนส์แก้วตาเทียมชนิดนิ่มเปรียบเทียบกับชนิดแข็งในบริบทของประเทศไทย
กัลยา ตีระวัฒนานนท์; รักมณี บุตรชน; ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์; ธีระ ศิริสมุด; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; ขวัญใจ วงศ์กิตติรักษ์; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2552-09)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเข้าถึงการผ่าตัดต้อกระจกและปัจจัยที่มีผลต่อการผ่าตัดต้อกระจกในผู้ป่วยสิทธิสวัสดิการข้าราชการและสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ (1) ข้อมูลผู้ป่วยในที่มีสิทธิสวัสดิ ... -
ความพึงพอใจของคนพิการต่อบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์และบริการอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการที่โรงพยาบาลของรัฐใน 8 จังหวัด
ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; แก้วกุล ตันติพิสิฐกุล; Kaewkul Tantipisitkul; ธีระ ศิริสมุด; Teera Sirisamutr; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; วันทนีย์ กุลเพ็ง; Wantanee Kulpeng; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; สุรชัย โกติรัมย์; Surachai Kotirum; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-10)ความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อบริการสุขภาพเป็นผลมาจากประสบการณ์ตรง ในการได้รับบริการเปรียบเทียบกับความคาดหวังต่อการรับบริการ ซึ่งจะมีผลต่อการให้ความร่วมมือในการรับบริการนั้นๆ ผลจากการประเมินความพึงพอใจจะสามารถนำไปใช้ในการพัฒนา ... -
นโยบายทันตสาธารณสุขไทย เกาะติดปัญหา ใช้วิชาการ สานสร้างความร่วมมือ
วีระศักดิ์ พุทธาศรี; จันทนา พัฒนเภสัช; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; ยุวดี ลีลัคนาวีระ; ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์; วันทนีย์ กุลเพ็ง; จันทนา อึ้งชูศักดิ์; ปิยะดา ประเสริฐสม; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2552-06) -
บริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการในมุมมองของผู้แทนองค์กรด้านคนพิการ ผู้ให้บริการและผู้กำหนดนโยบาย
แก้วกุล ตันติพิสิฐกุล; Kaewkul Tantipisitkul; ธีระ ศิริสมุด; Teera Sirisamutr; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; วันทนีย์ กุลเพ็ง; Wantanee Kulpeng; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; สุรชัย โกติรัมย์; Surachai Kotirum; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-10)การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามุมมองของผู้แทนองค์กรด้านคนพิการ ผู้ให้บริการและผู้กำหนดนโยบายต่อบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการในประเทศไทย เก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนมิถุนายน 2557 ... -
ประสิทธิผลของเครื่องช่วยฟังระบบดิจิตอลแบบกล่องที่พัฒนาต้นแบบโดยเนคเทค และต้นทุนของการคัดกรองการได้ยินและบริการเครื่องช่วยฟังในผู้สูงอายุ
ขวัญชนก ยิ้มแต้; พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; พรเทพ เกษมศิริ; พศิน อิศรเสนา ณ อยุธยา; อนุกูล น้อยไม้; พิภพ สิริเพาประดิษฐ์; ภัทรวุฒิ วัฒนศัพท์; สุภวรรณ เลาหศิริวงศ์; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-09)ความพิการทางการได้ยินเป็นความพิการที่พบบ่อยและถูกละเลยได้ง่าย เนื่องจากเป็นความพิการที่ซ่อนเร้นมองไม่เห็นจากภายนอก แม้ว่าผู้พิการทางการได้ยินจะมีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลและได้รับเครื่องช่วยฟังฟรีจากนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ... -
ประสิทธิผลและความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของมาตรการคัดกรองสุขภาพเพื่อป้องกันอุบัติเหตุจราจรทางถนน
ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; กุณฑิกา ดำรงปราชญ์; Kuntika Dumrongprat; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)อุบัติเหตุทางถนนก่อให้เกิดความสูญเสียต่อสุขภาวะ ชีวิต และเศรษฐกิจเป็นลำดับต้นของประเทศไทย แต่ปัจจุบันไม่มีแนวทางประเมินความพร้อมด้านสุขภาพของผู้ขับขี่ การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนประสิทธิผลและความคุ้มค่าของนโยบ ...